Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51412
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราพงษ์ จรัสศรี | |
dc.contributor.author | ธรชญา ภูมิจิโรจ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2016-12-09T09:24:36Z | |
dc.date.available | 2016-12-09T09:24:36Z | |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51412 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 ข้อ คือ 1.เพื่อศึกษารูปแบบในการสร้างงานนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยเกี่ยวกับบทบาทของสตรีในสังคมไทย ของนราพงษ์ จรัสศรี 2.เพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดในการสร้างงานนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยเกี่ยวกับบทบาทของสตรีในสังคมไทย ของนราพงษ์ จรัสศรี โดยใช้ระเบียบของวิธีการดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดังนี้ การสำรวจข้อมูลเชิงเอกสาร การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ การสัมมนา สื่อสารสนเทศอื่นๆ การสำรวจข้อมูลภาคสนาม และเกณฑ์มาตรฐานศิลปินต้นแบบ นำมาสังเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและนำเสนอเป็นงานวิจัย โดยผู้วิจัยจะนำเสนอผลการศึกษาโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบในการสร้างงานนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยเกี่ยวกับบทบาทสตรีในสังคมไทย ของนราพงษ์ จรัสศรี นั้น จะใช้รูปแบบการแสดงตามองค์ประกอบทางนาฏยศิลป์ ประกอบด้วย บทการแสดงที่ยังคงรักษาประเด็นหลักในเรื่องของผู้หญิง และง่ายต่อการเข้าใจของผู้ชม ที่เป็นคนทั่วไป มีการสร้างสรรค์ลีลาขึ้นใหม่โดยยังรักษาลีลาแบบดั้งเดิม ใช้ท่าแม่บททางด้านนาฏยศิลป์เพื่อช่วยเสริมให้นักแสดงสื่อความหมายได้อย่างความชัดเจน นอกจากนี้ยังสร้างสรรค์ลีลาใหม่บนพื้นฐานของลีลาแบบดั้งเดิม ผสมผสานในหลากหลายวัฒนธรรม และสื่อให้คนเข้าใจง่าย นักแสดง มีเทคนิคการเต้นจากหลายวัฒนธรรมและยังคงรักษาหัวใจของวัฒนธรรมไทยไว้ เครื่องแต่งกายจะช่วยส่งเสริมลีลาจากนาฏยศิลป์ไทยและในขณะเดียวกันก็เอื้อต่อลีลาจากวัฒนธรรมตะวันตกด้วย ด้านดนตรีมีการสร้างสรรค์เสียงและดนตรีใหม่บนพื้นฐานแบบดั้งเดิม รูปแบบด้านอุปกรณ์การแสดงที่ยังคงรักษาทัศนคติของเรื่องราวในอดีตด้วย ส่วนแนวความคิดในการสร้างงานนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยของ นราพงษ์ จรัสศรี นั้นได้ให้ความสำคัญทางด้านความแตกต่างระหว่างเพศ ที่สะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ไทย ใช้ความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมอื่นเพื่อเสริมให้วัฒนธรรมไทยเด่นขึ้น ตลอดจนการสร้างสรรค์และการสร้างอรรถรสเพื่อให้ผู้ชมเข้าถึงบทการแสดง การอนุรักษ์ การใช้สัญลักษณ์ การนำหลักคุณธรรมจริยธรรมเข้ามาเสริม และสุดท้ายคือนำเอาทฤษฎีทางด้านนาฏศิลป์และทัศนศิลป์ มาเป็นแนวความคิดในการสร้างงานนายศิลป์ไทยร่วมสมัย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The dissertation has 2 objectives; 1) to study the patterns in creating contemporary Thai dance about women’s roles in Thai society of Naraphong Charassri, and 2) to study and analyze the concept in creating contemporary Thai dance about women’s roles in Thai society of Naraphong Charassri. The approach of Qualitative Research was applied in the following steps; surveying document data, interviewing experts, seminar, other information media, surveying field data, and master artist benchmark. All the data was synthesized and summarized to present as a research with the approach of descriptive analysis. The results revealed that the patterns in creating contemporary Thai dance of Naraphong Charassri about women’s roles in Thai society were applied from the dance components as follows. The script maintained the main issue about women and was easy for general audience to understand. The newly dance maintained the traditional styles such as prototypical dance postures to enhance performers to convey clear meanings. Moreover, the new styles were created on the basis of the traditional ones and combined various cultures to convey messages that the audience would understand easily. The performers had dancing techniques from various cultures but still maintained the heart of Thai culture. The costume enhanced Thai dance styles and accommodated styles from western cultures at the same time. The music was newly created on the basis of traditional one. The props is maintained the attitudes of the past through. About the concept, Naraphong Charassri gave importance on the differences between genders which reflected Thai identity, applied the diversity of other cultures to make Thai culture prominent, created the flavors for the audience, conserved traditional things, applied symbols, added ethics and morals, and finally applied the theory of dance and visual arts as a concept to create the contemporary Thai dance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1630 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | นราพงษ์ จรัสศรี | en_US |
dc.subject | นาฏศิลป์ไทย | en_US |
dc.subject | สตรี -- แง่สังคม -- ไทย | en_US |
dc.subject | Naraphong Charassri | en_US |
dc.subject | Dramatic arts, Thai | en_US |
dc.subject | Women -- Social aspects -- Thailand | en_US |
dc.subject | ปริญญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.title | แนวความคิดในการสร้างงานนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยเกี่ยวกับบทบาทของสตรีในสังคมไทยของนราพงษ์ จรัสศรี | en_US |
dc.title.alternative | The concepts in creating contemporary Thai dance about women's roles in Thai society of Naraphong Charassri | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | นาฏยศิลป์ไทย | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.1630 | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
thornchaya_ph.pdf | 4.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.