Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีเลิศ โชติพันธรัตน์-
dc.contributor.authorธนัท ธนาบูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialอุบลราชธานี-
dc.date.accessioned2017-09-18T10:03:30Z-
dc.date.available2017-09-18T10:03:30Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53318-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.description.abstractตำบลหัวเรือเป็นหนึ่งในพื้นที่เกษตรกรรมที่สำคัญของจังหวัดอุบลราชธานี มีการใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงอยู่เป็นประจำในปริมาณที่สูงเป็นเวลามากกว่า 30 ปี และ มีการนำน้ำใต้ดินมาเพาะปลูกพืช ภายใต้สภาพแวดล้อมแบบนี้ทำให้โลหะหนักจากสารเคมีเกษตรสามารถปนเปื้อนกับดิน และชั้นน้ำบาดาลระดับตื้นได้ จึงได้เกิดเป็นวัตถุประสงค์ในงานวิจัยครั้งนี้ขึ้น 1) เพื่ออธิบายคุณสมบัติของชั้นน้ำบาดาลระดับตื้นได้ 2) เพื่อทำแผนภาพตัดขวางของลักษณะอุทกธรณีวิทยา 3) ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ จำลองการไหลของน้ำบาดาลและการเคลื่อนตัวของโลหะหนักในเชิง 3 มิติ เพื่อจะได้จัดการทรัพยากรน้ำบาดาลได้อย่างเหมาะสม และป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตมีการศึกษา slug test ทั้งหมด 6 บ่อ เพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่าน พบว่ามีค่าอยู่ระหว่าง 0.7208 เมตร/วัน ถึง 1.04 เมตร/วัน และ ทำแผนภาพตัดขวางทางอุทกธรณีวิทยา โดยใช้ข้อมูลธรณีหลุมเจาะ และข้อมูลระดับน้ำใน 2 ช่วงเวลา คือ พฤษภาคม และสิงหาคม จากการใช้โปรแกรม visual mudflow โดยใช้ข้อมูลคุณสมบัติของชั้นน้ำ และระดับน้ำบาดาล พบว่าน้ำบาดาลระดับตื้นมีการไหลจากทิศเหนือ(พื้นที่ที่มีการเติมน้ำ) ไปสู่ทิศใต้(พื้นที่ที่มีการระบายออกของน้ำ) ภายในชั้นหินอุ้มน้ำของดินทรายและหินทราย และ ได้มีการนำข้อมูล เช่น สัมประสิทธิ์การซึมผ่าน และ บริเวณที่มีการเติมน้ำ เป็นต้น มาปรับเทียบค่า เพื่อให้ได้แบบจำลองที่มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น จากแบบจำลองพบว่าโลหะหนักมีการเคลื่อนตัวตามการไหลของชั้นน้ำบาดาลระดับตื้นen_US
dc.description.abstractalternativeTambon Hua Ruea, one of the important agricultural area of Ubon Ratchathani, has routinely applied nitrate fertilizers and pesticides at high levels over thirty years. Consequently, groundwater resources have been developed to plant their crops. Under this circumstances, some metals from agrochemicals can contaminated soil and shallow groundwater. As mentioned, this research aimed to 1) explain shallow aquifer hydraulic properties, 2) to construct hydrogeologic cross-section and 3) to simulate groundwater flow and heavy metal movement used 3 dimensional mathematical model in order to appropriate groundwater resources remediation and management in near future. According to slug test of 6 wells during two periods hydraulic conductivity ranged from 0.7208 to 1.04 m/day. The hydrogeologic cross-section were constructed used lithologic log and groundwater level observed in 2 periods (May and August). As a result from previous sections, visual modflow program was applied to simulate groundwater flow used observed hydraulic properties and groundwater level. The results revealed that shallow groundwater flows from northern-recharged area to southern-discharge area, within an unconfined aquifer consisted of sand and sandstone. Then, the parameters (i.e. hydraulic conductivity and recharge zones) were calibrated for more precisely groundwater flow model. Finally, heavy metal data was modeled along with flow paths to describe heavy metal migration in the aquifer.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำบาดาล -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectน้ำบาดาล -- ไทย -- อุบลราชธานีen_US
dc.subjectแบบจำลองทางชลศาสตร์en_US
dc.subjectโลหะหนัก -- แง่สิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectGroundwater -- Mathematical modelsen_US
dc.subjectGroundwater -- Thailand -- Ubon Ratchathanien_US
dc.subjectHydraulic modelsen_US
dc.subjectHeavy metals -- Environmental aspectsen_US
dc.titleแบบจำลองการไหลของน้ำบาดาลระดับตื้น และการเคลื่อนตัวของโลหะหนักบริเวณตำบลหัวเรือ จังหวัดอุบลราชธานีen_US
dc.title.alternativeShallow groundwater flow modeling and heavy metal transport in Tambon Hua Ruea, Changwat Ubon Ratchathanien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorlertc77@yahoo.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
report_Tanat Thanaboon.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.