Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวชิราพร อัจฉริยโกศล-
dc.contributor.authorอัมพิกา โกมณเฑียร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-11-16T08:11:09Z-
dc.date.available2017-11-16T08:11:09Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746383582-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55942-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแบบตัวอักษรไทยบนจอคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อความชัดเจนในการอ่านของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แบบตัวอักษรอังสถนาภาษาไทย 6 ประเภท คือ ประเภทตัวเอน (ltalic) ประเภทตัวธรรมดา (Normal) ประเภทตัวแคบ (Condensed) ประเภทตัวหนา (Bold) ประเภทตัวเส้นขอบ (Outline) และ ประเภทตัวดำ (Black) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2540 ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย จากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม โรงเรียนพญาไท โรงเรียนอนุบาลสามเสนวิทยาลัย โรงเรียนราชวินิตประถม และโรงเรียนปทุมวัน รวมจำนวน 90 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์วัดความชัดเจนในการอ่านแบบอักษรไทยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น การวเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีทางสถิติ โดยการวิเคราะห์หาค่าความแปนปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-way Analysis of Variance, Repeated Measurements) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนแต่ละคู่ (Multiple Comparisons) โดยวิธีของ Tukey ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ความชัดเจนในการอ่านแบบตัวอักษรไทยบนจอคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เมื่อใช้แบบอักษรทั้ง 6 ประเภท คือ ประเภทตัวเอน (ltalic) ประเภทตัวธรรมดา (Normal) ประเภทตัวแคบ (Condensed) ประเภทตัวหนา (Bold) ประเภทตัวเส้นขอบ (Outline) และ ประเภทตัวดำ (Black) มีผลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ประเภทตัวธรรมดา (Normal) มีผลต่อความชัดเจนในการอ่านของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 บนจอคอมพิวเตอร์ได้ดีกว่าประเภทอื่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยเรียงตามลำดับดังนี้ ประเภทตัวเอน (ltalic) ประเภทตัวแคบ (condensed) ประเภทตัวหนา (Bold) และประเภทตัวเส้นขอบ (Outline)en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research paper is to study the effects of different fonts of Thai characters on computer screens upon the reading of Pratom Suksa 4 students For this purpose, 6 different styles of the Angsana UPC font have been used. Ltalic, Normal, Condensed, Bold, Outline and Black. The test group used in the research was randomly composed by 90 Pratom Suksa 4 students undertaking their second semester in 1996. The 90 students came from The Demontration School of Chulalongdorn University (Elementary), Phayathai School, Kindergarten school of Samsan College, Rachavinit Pratom School and Phatumwan School. The author created a computer program for testing the degree of legibility styles of Thai character, which was applied as an instrument in the research. All collected data was analyzed by various methods such as One-Way Analysis of Variance, Repeated Measurements, and Multiple Comparisons by means of the Tukey Test method. The major findings of the research are summarized as follows: 1. The degree of legibility in rading ltalic, Normal, Condersed, Bold. Outline and Bloack styles of Thai characters on computer screens by Pratom Suksa 4 students had a significant statistical variance at level 0.05. 2. The Normal style was tegarded more legibal than other styles when read on computer screen by the Pratom Suksa 4 students, The statistical variance was at level 0.05. The legibility of other styles was graded by the sample group in the following order: ltalic, Condersed,, Black, Bold, and Outine.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโสตทัศนวัสดุ -- การออกแบบen_US
dc.subjectระบบแสดงผลข้อมูล -- การออกแบบen_US
dc.subjectความอ่านออกได้ (การพิมพ์)en_US
dc.subjectจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectแบบอักษรคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการเรียนรู้ด้วยจักษุภาพen_US
dc.subjectAudio-visual materials -- Designen_US
dc.subjectInformation display systems -- Designen_US
dc.subjectLegibility (Printing)en_US
dc.subjectEducational psychologyen_US
dc.subjectSchool children -- Psychological aspectsen_US
dc.subjectComputer fontsen_US
dc.subjectVisual learningen_US
dc.titleแบบตัวอักษรไทยบนจอคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อความชัดเจนในการอ่าน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeStyles of Thai characters on computer screen upon the reading legibility of pratom suksa four studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVachiraporn.A@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Umpiga_go_front.pdf569.64 kBAdobe PDFView/Open
Umpiga_go_ch1.pdf673.81 kBAdobe PDFView/Open
Umpiga_go_ch2.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open
Umpiga_go_ch3.pdf558.47 kBAdobe PDFView/Open
Umpiga_go_ch4.pdf399.75 kBAdobe PDFView/Open
Umpiga_go_ch5.pdf612.6 kBAdobe PDFView/Open
Umpiga_go_back.pdf812.79 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.