Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56479
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภลัคน์ ลวดลาย | - |
dc.contributor.author | ชุติพงศ์ อรุณกิจถาวรกุล | - |
dc.contributor.author | ธนภัทร เสรีชัยพร | - |
dc.contributor.author | วิศิษฐ์ นุชเจริญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2017-11-28T02:46:03Z | - |
dc.date.available | 2017-11-28T02:46:03Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56479 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 | en_US |
dc.description.abstract | โครงงานทางจิตวิทยานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาอิทธิพลของบุคลิกภาพแบบเปิดตัวที่มีต่อการติดอินเตอร์เน็ตโดยมีความต้องการใฝ่สัมพันธ์เป็นตัวแปรส่งผ่าน โดยกลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นไทย ช่วงอายุ18-22 ปี ที่สามารถเข้าถึงและใช้งานอินเตอร์เน็ตส่วนตัวได้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดการติดอินเตอร์เน็ต (IAT) (α= .870), มาตรวัดบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ (NEO FFI-S) ในงานวิจัยนี้ใช้แค่องค์ประกอบเดียว คือ บุคลิกภาพแบบเปิดตัว (α= .885) และมาตรวัดความต้องการใฝ่สัมพันธ์ (W¬BNS) ในบริบทออนไลน์(α= .682) ผลการวิจัยพบว่า 1บุคลิกภาพแบบเปิดตัวมีอิทธิพลโดยตรงทางลบต่อการติดอินเตอร์เน็ต แต่ไม่ถึงนัยสำคัญทางสถิติ (B = .16) 2บุคลิกภาพแบบเปิดตัวมีอิทธิพลทางบวกกับความต้องการใฝ่สัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ (B = .28) 3ความต้องการใฝ่สัมพันธ์มีอิทธิพลทางลบต่อการติดอินเตอร์เน็ต แต่ไม่ถึงนัยสำคัญทางสถิติ (B = .18) 4บุคลิกภาพแบบเปิดตัวมีอิทธิพลโดยอ้อมทางลบต่อการติดอินเตอร์เน็ต แต่ไม่ถึงนัยสำคัญทางสถิติ (B= .05) | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to examine the mediating effect of relatedness need on the association between extraversion and internet addiction. Participants were 125 university students 18 -22 in Bangkok. There were 3 measures: Internet addiction test, NEO five-factors inventory and Work-related Basic Need Satisfaction scale Results reveal that 1Extraversion has a direct non-significant negative effect on Internet Addiction (B = .16) 2Extraversion has a significant positive effect on Need for relatedness (B = .28) 3Need for Relatedness has a direct non-significant negative effect on Internet Addiction (B = .18) 4Extraversion has an indirect non-significant negative effect on Internet Addiction (B = .05) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต | en_US |
dc.subject | บุคลิกภาพแบบเปิดเผย | en_US |
dc.subject | Internet users | en_US |
dc.subject | Extraversion | en_US |
dc.title | การสำรวจอิทธิพลตัวแปรส่งผ่านของ ความต้องการใฝ่สัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพแบบเปิดตัวและการติดอินเตอร์เน็ต | en_US |
dc.title.alternative | EXPLORING THE MEDIATOR EFFECT OF NEED FOR RELATEDNESS BETWEEN EXTRAVERSION AND INTERNET ADDICTION | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Supalak.l@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chutipong_Ar.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.