Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58528
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Kitti Torrungruang | - |
dc.contributor.author | Soranun Chantarangsu | - |
dc.contributor.author | Thanyachai Sura | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry | - |
dc.coverage.spatial | Thailand | - |
dc.date.accessioned | 2018-04-17T04:59:56Z | - |
dc.date.available | 2018-04-17T04:59:56Z | - |
dc.date.issued | 2015 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58528 | - |
dc.description.abstract | Polymorphisms of the vitamin D receptor (VDR) gene have been implicated in the susceptibility to infections and bone-related diseases. However, their relationship with periodontal disease remains unclear. This cross-sectional study investigated whether the susceptibility to chronic periodontitis in a Thai population is associated with VDR polymorphisms. Genomic DNA was obtained from 1,460 subjects, aged 39-65 years. Genotyping of VDR polymorphisms (FokI, BsmI, ApaI, and TaqI) was performed using real-time polymerase chain reaction. Subjects were categorized into three groups; no/mild, moderate, and severe periodontitis. Multinomial logistic regression analysis was used to determine the degree of association between VDR polymorphisms and periodontal status adjusted for age, gender, education, smoking, and diabetes. The CC+CT genotypes of FokI polymorphism were associated with moderate and severe periodontitis with odds ratios (OR) of 1.4 (95% CI 1.0-1.9) and 2.0 (95% CI 1.3-2.9), respectively. There was no significant relationship between the other VDR polymorphisms or BsmI-ApaI-TaqI haplotypes and periodontitis. To examine gene-smoking interaction, non-smokers with the TT genotype of FokI polymorphism were used as the reference group for all comparisons. Current smokers who had the CC+CT genotypes presented the highest risk of severe periodontitis with an OR of 10.4 (95% CI 4.9-22.1), whereas their counterparts with the TT genotype and non-smokers bearing the CC+CT genotypes had an increased risk by 2.7 (95% CI 1.1-6.7) and 2.0 folds (95% CI 1.2-3.4), respectively. The combined effect of FokI polymorphism and current smoking was 3.5 times (95% CI 1.3-9.9) greater than what would be expected from the sum of their individual effects, indicating a significant additive interaction. In conclusion, our data indicate that FokI polymorphism of VDR gene was significantly associated with periodontal disease severity in this study group. We are also the first to demonstrate that FokI polymorphism and smoking synergistically interacted in increasing the risk of chronic periodontitis. | en_US |
dc.description.abstractalternative | ความหลากหลายทางพันธุกรรมในยีนวิตามินดีรีเซปเตอร์มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงในการเกิดการติดเชื้อและโรคกระดูก อย่างไรก็ตาม จากผลการศึกษาที่ผ่านมายังไม่สามารถสรุปได้อย่างชัดเจนว่าความหลากหลายทางพันธุกรรมในยีนนี้ มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคปริทันต์อักเสบหรือไม่ ดังนั้นทางคณะผู้วิจัยจึงทำการศึกษาแบบตัดขวาง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหลากหลายทางพันธุกรรมในยีนวิตามินดีรีเซปเตอร์ และความเสี่ยงในการเกิดโรคปริทันต์อักเสบเรื้อรังในกลุ่มประชากรไทย เราได้ทำการเตรียมสารพันธุกรรมจากกลุ่มตัวอย่างคนไทยจำนวน 1,460 ราย ที่มีอายุระหว่าง 39-65 ปี โดยทำการจีโนไทป์ความหลากหลายทางพันธุกรรมในยีนวิตามินดีรีเซปเตอร์ 4 ตำแหน่งคือ FokI, BsmI, ApaI และ TaqI โดยใช้วิธีการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมแบบเรียลไทม์ เราแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 กลุ่มตามสถานะของโรคปริทันต์ได้แก่ กลุ่มที่ไม่เป็นโรคหรือเป็นโรคระดับน้อย กลุ่มที่เป็นโรคระดับปานกลาง และกลุ่มที่เป็นโรคระดับรุนแรง การทดสอบทางสถิติเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจีโนไทป์และโรคปริทันต์อักเสบ ใช้สถิติ multivariate logistic regression analysis โดยมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆที่ต้องควบคุมสำหรับโรคปริทันต์อักเสบ คืออายุ เพศ การสูบบุหรี่ และโรคเบาหวาน ผลการทดลองพบว่า ลักษณะจีโนไทป์ CC หรือ CT ของ FokI สัมพันธ์กับการเกิดโรคปริทันต์อักเสบเรื้อรังระดับปานกลางและรุนแรง โดยมีอัตราส่วนของโอกาสการเกิดโรค (odds ratio) เป็น 1.4 (95% CI 1.0-1.9) และ 2.0 (95% CI 1.3-2.9) ตามลำดับ แต่ไม่พบความสัมพันธ์ของการเกิดโรคปริทันต์อักเสบกับความหลากหลายตำแหน่งอื่นหรือ BsmI-ApaI-TaqI haplotypes จากนั้นผู้วิจัยได้ศึกษาผลจากการทำงานร่วมกันของยีนและปัจจัยการสูบบุหรี่ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่ไม่สูบบุหรี่และมีจีโนไทป์ TT ของ FokI เป็นกลุ่มอ้างอิง พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่สูบบุหรี่และมีจีโนไทป์ CC หรือ CT ของ FokI มีโอกาสในการเกิดโรคปริทันต์อักเสบเรื้อรังระดับรุนแรงมากที่สุด โดยมีอัตราส่วนของโอกาสการเกิดโรคเป็น 10.4 (95% CI 4.9-22.1) ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่สูบบุหรี่และมีจีโนไทป์ TT และกลุ่มตัวอย่างที่ไม่สูบบุหรี่ที่มีจีโนไทป์ CC หรือ CT ของ FokI มีโอกาสในการเกิดโรคเพิ่มขึ้นเพียง 2.7 (95% CI 1.1-6.7) และ 2.0 เท่า (95% CI 1.2-3.4) ตามลำดับ ปฏิกิริยาของFokI และการสูบบุหรี่มีผลต่อการเกิดโรคปริทันต์อักเสบเรื้อรังระดับรุนแรงมากกว่าผลรวมเมื่อคิดแยกจากปัจจัยทั้งสอง บ่งบอกว่าปฏิกิริยาของทั้งสองปัจจัยเป็นแบบ additive interaction โดยสรุป การศึกษานี้ได้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง FokI และระดับความรุนแรงในการเกิดโรคปริทันต์อักเสบ นอกจากนั้น ยังแสดงปฏิกิริยาของ FokI และปัจจัยการสูบบุหรี่ ว่ามีผลเสริมกันต่อความเสี่ยงในการเกิดโรคปริทันต์อักเสบเรื้อรังอีกด้วย | en_US |
dc.description.sponsorship | This research supported by Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Periodontitis -- Thailand | en_US |
dc.subject | Genetic polymorphisms | en_US |
dc.subject | Vitamin D | en_US |
dc.title | Association between vitamin D receptor gene polymorphisms and chronic periodontitis in Thais | en_US |
dc.title.alternative | ความสัมพันธ์ระหว่าง polymorphisms ของ Vitamin D receptor gene และโรคปริทันต์อักเสบชนิดเรื้อรังในคนไทย | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | Kitti.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Soranun.C@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | No information provided | - |
Appears in Collections: | Dent - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kitti To_b2146926x.pdf | 435.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.