Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59264
Title: | การออกแบบอุปกรณ์จับด้ามพลอยแบบหลายด้ามสำหรับเครื่องเจียระไนพลอยจุฬาแบบอัตโนมัติ |
Other Titles: | A multiple stone bearer for the chula automatic faceting machine |
Authors: | การเกรียงไกร สินธุเดชากุล |
Advisors: | วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | viboon.s@eng.chula.ac.th |
Subjects: | การเจียระไนและการขัด การออกแบบเครื่องจักรกล Grinding and polishing Machine design |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้ ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบกลไกทางกล และ การสร้างอุปกรณ์จับด้ามพลอยแบบหลายด้ามสำหรับใช้กับเครื่องเจียระไนพลอยจุฬาแบบอัตโนมัติ โดยการควบคุมจะใช้การควบคุมแบบป้อนกลับ สำหรับโครงสร้างของชุดจานเจียระไน ซึ่งจะติดตั้งจานเจียระไนทั้ง 5 จานได้ปรับปรุงขึ้นมาจากเครื่องเจียระไนพลอยรุ่นเดิม โดยจานเจียระไนจะมีรอบสูงขึ้น อุปกรณ์จับด้ามพลอยที่ได้พัฒนาขึ้นสามารถที่จะจับด้ามทวนได้พร้อมกัน 14 ด้าม ในการเจียระไนบนจานเจียระไนที่ได้เลือกไว้การเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จับด้ามพลอยจะถูกควบคุมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะรักษาความแม่นยำของการเคลื่อนที่ของด้ามพลอยเช่นเดียวกับการปรับปรุงเวลาในการเจียระไนโดยรวม จากการทดลอง แสดงให้เห็นว่า อุปกรณ์จับด้ามพลอยที่ได้ออกแบบสามารถเจียระไนพลอยได้พร้อมกัน 14 เม็ด(ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มม.) โดยสามารถเจียระไนได้ทั้งรูปทรงสมมาตรและรูปทรงไม่สมมาตร ในขณะที่ส่วนของจานเจียระไนสามารถเลือกใช้ได้ทั้งการเจียระไนแบบหยาบ กึ่งละเอียด และ การขัดเงา โดยสามารถตั้งเวลาที่ใช้ในการเจียระไนเพื่อการเจียระไนที่ดีขึ้น |
Other Abstract: | งานวิจัยนี้ ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบกลไกทางกล และ การสร้างอุปกรณ์จับด้ามพลอยแบบหลายด้ามสำหรับใช้กับเครื่องเจียระไนพลอยจุฬาแบบอัตโนมัติ โดยการควบคุมจะใช้การควบคุมแบบป้อนกลับ สำหรับโครงสร้างของชุดจานเจียระไน ซึ่งจะติดตั้งจานเจียระไนทั้ง 5 จานได้ปรับปรุงขึ้นมาจากเครื่องเจียระไนพลอยรุ่นเดิม โดยจานเจียระไนจะมีรอบสูงขึ้น อุปกรณ์จับด้ามพลอยที่ได้พัฒนาขึ้นสามารถที่จะจับด้ามทวนได้พร้อมกัน 14 ด้าม ในการเจียระไนบนจานเจียระไนที่ได้เลือกไว้การเคลื่อนที่ของอุปกรณ์จับด้ามพลอยจะถูกควบคุมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะรักษาความแม่นยำของการเคลื่อนที่ของด้ามพลอยเช่นเดียวกับการปรับปรุงเวลาในการเจียระไนโดยรวม จากการทดลอง แสดงให้เห็นว่า อุปกรณ์จับด้ามพลอยที่ได้ออกแบบสามารถเจียระไนพลอยได้พร้อมกัน 14 เม็ด(ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มม.) โดยสามารถเจียระไนได้ทั้งรูปทรงสมมาตรและรูปทรงไม่สมมาตร ในขณะที่ส่วนของจานเจียระไนสามารถเลือกใช้ได้ทั้งการเจียระไนแบบหยาบ กึ่งละเอียด และ การขัดเงา โดยสามารถตั้งเวลาที่ใช้ในการเจียระไนเพื่อการเจียระไนที่ดีขึ้น |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมเครื่องกล |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59264 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kankriangkrai Sinthudechakul.pdf | 5.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.