Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59328
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิชญ์ ศุภผล-
dc.contributor.authorประสิทธิ์ ภวสันต์-
dc.contributor.authorดวงดาว อาจองค์-
dc.contributor.authorอิทธิพล แจ้งชัด-
dc.contributor.authorปิยฉัฎร ช่วยสีนวล-
dc.contributor.authorผกากรอง สังข์เสนาะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี-
dc.date.accessioned2018-08-07T10:27:10Z-
dc.date.available2018-08-07T10:27:10Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59328-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาการขึ้นรูปของแผ่นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ดที่ได้จากกระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตโดยสภาวะที่เหมาะสมสำหรับเตรียมเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด ผสมสารสกัดจากเปลือกมังคุดจากกระบวนการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตโดยได้เส้นใยที่มีผิวเรียบ สม่ำเสมอ ปราศจากปุ่มปม คือใช้สารละลายโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด ความเข้มข้น 10 % wt ผสมโดยสารสกัดจากเปลือกมังคุดจะถูกใส่ลงในสารละลายพอลิอะคริโลไนไตร์ (polyacrylonitrile) ในปริมาณ 10% 15% 20% และ 30% โดยน้ำหนักของพอลิอะคริโลไนไตร์ (polyacrylonitrile) ซึ่งเส้นใยที่ได้มีขนาด 0.242  0.12 ไมโครเมตร โดย นอกจากนี้ยังทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำแผ่นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด ระดับนาโนเมตรที่มีสารสก้ดจากเปลือกมังคุดเป็นสารออกฤทธิ์ในการรักษาแผลมาใช้เป็นวัสดุขนส่งยา (Drug delivery carrier) จากนั้นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ดจะถูกประเมินความเป็นไปได้ในการใช้เป็นวัสดุขนส่งยาซึ่งมีพอลิเมอร์เป็นระบบควบคุมการปลดปล่อยยา นอกจากนี้ยังมีการศึกษาความสามารถในการปลดปล่อยยาจากตัวเส้นใย โดยใช้วิธีจุ่มแช่ (total immersion) เมื่อทำการแช่เส้นใยดังกล่าวในสารละลาย acetate buffer และ phosphate buffer โดยมี pH 5.5 และ 7.4 ซึ่งใช้เป็นสารละลายจำลองใต้ผิวหนังมนุษย์ในการทดสอบการปลดปล่อยสารสกัดจากเปลือกมังคุดค่าความสามารถใน การศึกษาการปลดปล่อยกรดแกลลิคด้วยวิธี total immersion พบว่าแผ่นเส้นใยโพลิอะคลิคโรไนไตร์ด มีค่าการปลดปล่อยสารสกัดจากเปลือกมังคุด ที่ 10% 15% 20% และ 30% มีค่ามากขึ้นตามลำดับ และการศึกษาพบว่าเมื่อใส่สารสกัดจากเปลือกมังคุดในเส้นใยพอลิอะคริโลไนไตร์สามารถยับยั้งเชื้อวัณโรคได้en_US
dc.description.sponsorshipสนับสนุนทุนวิจัยโดย ทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ 2553en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการปั่นด้ายด้วยไฟฟ้าสถิตen_US
dc.subjectเส้นใยนาโนen_US
dc.subjectระบบนำส่งยาen_US
dc.subjectมังคุดen_US
dc.subjectสารสกัดจากพืชen_US
dc.titleโครงการพัฒนาระบบนำส่งสารออกฤทธิ์สมุนไพรไทย ด้วยระบบเส้นใยอิเลคโตรสปัน : รายงานฉบับสมบูรณ์en_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorPitt.S@Chula.ac.th-
dc.email.authorPrasit.Pav@Chula.ac.th-
dc.email.authorDuangdao.A@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitt Su_Res_2553.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.