Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59775
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไตรรัตน์ จารุทัศน์ | - |
dc.contributor.author | อนรรฆธีปะวีร์ เกิดแย้ม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-09-14T05:17:17Z | - |
dc.date.available | 2018-09-14T05:17:17Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59775 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการวางแผนด้านที่อยู่อาศัยรวมถึงการเตรียมการทางด้านการเงินไว้ใช้หลังเกษียณ ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย คือ คนวัยทำงาน โดยในงานวิจัยนี้แบ่งกลุ่มเป้าหมายเป็น 3 ช่วงวัย คือ เจนบี หรือ Baby Boomer Generation (ผู้ที่เกิดระหว่าง พ.ศ.2489-2507หรือ อายุ 53-71 ปี) เจนเอ็กซ์ หรือ Generation X (ผู้ที่เกิดระหว่าง พ.ศ.2508-2523 หรือ อายุ 37-52 ปี) เจนวาย หรือ Generation Y (ผู้ที่เกิดระหว่าง พ.ศ.2524-2543 หรือ อายุ 17-36 ปี) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม วิเคราะห์รูปแบบที่อยู่อาศัย และเสนอแนะแนวทางการวางแผนที่อยู่อาศัยเพื่อวัยเกษียณของประชากร 3 ช่วงวัยนี้ เพื่อเปรียบเทียบว่าแต่ละช่วงวัยนั้นมีการวางแผนแตกต่างกันหรือไม่ กลุ่มประชากรที่ศึกษานั้นเป็นบุคลากรของ 3 องค์กร ได้แก่ การเคหะแห่งชาติ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และบริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด(มหาชน) มีจำนวนประชากรทั้งหมดรวม 5,639 คน ได้ 504 ตัวอย่าง ผลการศึกษาพบว่า ช่วงวัยที่มีการวางแผนที่อยู่อาศัยเพื่อวัยเกษียณสูงที่สุด คือ คนเจนเอ็กซ์ มีการวางแผนที่อยู่อาศัยเพื่อวัยเกษียณร้อยละ 80 มีการวางแผน 2 แบบ คือ แบบที่ 1 อยู่ที่เดิมพร้อมกับปรับปรุงที่อยู่อาศัยร้อยละ 41 เน้นปรับปรุงห้องน้ำและห้องนอน งบประมาณไม่เกิน 3 แสนบาท แบบที่ 2 คือ วางแผนย้ายที่อยู่อาศัยร้อยละ 39 โดยเหตุผลอันดับแรก คือ ต้องการกลับภูมิลำเนาเดิม รูปแบบที่อยู่อาศัยที่ต้องการ คือ บ้านปลูกเอง 2 ชั้น 3 ห้องนอน 3 ห้องน้ำ ขนาด 200 ตร.ม. งบประมาณไม่เกิน 3 ล้านบาท ช่วงวัยที่มีการวางแผนที่อยู่อาศัยเพื่อวัยเกษียณรองลงมา คือ คนเจนวายร้อยละ 73 และสุดท้าย คนเจนบีร้อยละ 72 ซึ่งทั้งสองช่วงวัยนี้ก็มีการวางแผนที่อยู่อาศัยเพื่อวัยเกษียณทั้ง 2 แบบเช่นกัน โดยช่วงวัยที่เหมาะสมในการวางแผนที่อยู่อาศัยเพื่อวัยเกษียณที่สุด คือ ช่วงอายุ 29-35 ปี | - |
dc.description.abstractalternative | This research is a study of housing planning and financial arrangements for retirement. The target group is the working age divided into 3 generations. Gen B or Baby Boomer Generation (born in 1946-1964 or 53-71 years old), Gen X or Generation X (born in 1965-1980 or 37-52 years old), Gen Y or Generation Y (born in 1981-2000 or 17-36 years old) with the objective to study the socio-economic factors, analysis of housing patterns and suggesting housing planning for the retirement age of 3 generations and comparing whether each age range is planning differently. Case studies are taken from the National Housing Authority, Government Housing Bank and Grand Canal Land Public Company Limited, with a total population of 5,639 persons, sampling 504. The study indicated Gen X is planning a retirement home for 80%. There are two plans for retirement. The first plan with 41% is to live at the current home and to make housing improvements by renovating the bathroom and bedroom with a budget not exceeding 300,000 Baht. The second plan with 39% is to move because they want to move back to their home towns or provinces. The preferred housing type is a 2 story house with 3 bedrooms, 3 bathrooms, 200 sq.m., with a budget of no more than 3 million baht. The former housing plan for retirement is preferred by 73% of Gen Y, and the latter being preferred by 72% of Gen B. There are two types of retirement plans. The optimal age for residential retirement is 29-35 years old. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.714 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัย | - |
dc.subject | Older people -- Dwellings | - |
dc.subject | Retirement | - |
dc.title | การวางแผนที่อยู่อาศัยหลังเกษียณของคนทำงาน 3 ช่วงวัย กรณีศึกษา : ธนาคารอาคารสงเคราะห์ การเคหะแห่งชาติ และ บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด(มหาชน) | - |
dc.title.alternative | PLANNING FOR RESIDENTIAL AFTER RETIREMENT OF 3 GENERATIONS CASE STUDY : THE GOVERNMENT HOUSING BANK THE NATIONAL HOUSING AUTHORITY AND GRAND CANAL LAND PUBLIC COMPANY LIMITED | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | การพัฒนาที่อยู่อาศัยและอสังหาริมทรัพย์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Trirat.J@Chula.ac.th,trirat13@gmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2017.714 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5973574125.pdf | 7.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.