Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60489
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธงชัย งามประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorกษิดิศ ริสอน-
dc.contributor.authorศักรินทร์ แสนสุข-
dc.contributor.authorอาจอง ประทัตสุนทรสาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-10-31T02:14:30Z-
dc.date.available2018-10-31T02:14:30Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60489-
dc.description.abstractจากการสำรวจความหลากหลายของค้างคาวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2557 ในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หมู่เกาะแสมสารและเกาะใกล้เคียง อำเภอสัต หีบ จังหวัดชลบุรี พบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กทั้งสิ้น จำนวน 7 ชนิดได้แก่ สัตว์ฟันแทะ (Order Rodentia) จำนวน 1 ชนิด และค้างคาว (Order Chiroptera) จำนวน 6 ชนิด โดยพบหนูท้องขาว Rattus spp. และค้างคาวปีกถุงเคราดำ Taphozous melanopogon เป็นจำนวนมากในพื้นที่ ศึกษา ความชุกชุมสัมพัทธ์ของหนูท้องขาวบนเกาะแสมสารจะสูงในช่วงฤดูฝน ขนาดประชากรของ ค้างคาวปีกถุงเคราดำที่พบบนเกาะขามและเกาะฉางเกลือจะเพิ่มสูงขึ้น ในช่วงเดือนมกราคมและ กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็ นช่วงที่ค้างคาวจับคู่ผสมพันธุ์ หลังจากนั้น ค้างคาวเพศเมียจะตั้งท้องและให้นม ลูกในเดือนมีนาคมและเมษายน ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeBat and small mammal surveys have been conducted at the area of Plant Genetic Conservation Project under the Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Samaesan Islands, Sattahip, Chonburi province between 2010 and 2014. A total of 7 species has been found including 1 species in order Rodentia and 6 species in order Chiroptera. Species with highest abundance found in the study area are Rattus spp. and black-bearded tomb bat Taphozous melanopogon. Relative abundance of Rattus spp. at Samaesan Island was highest in rainy season. Population size of black-bearded tomb bat was highest in mating season (January and February), then pregnant and lactating females were found in March and April, respectively.en_US
dc.description.sponsorshipได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2558en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleความหลากหลายของค้างคาวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริen_US
dc.title.alternativeBiodiversity of balts and small mammals in the secondary forest, RSPG areaen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorThongchai.N@Chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorart-ong.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thongchai N_Res_2558.pdf851.2 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.