Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61058
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Rotsalai Kanlayanaphotporn | - |
dc.contributor.advisor | Adit Chiradejnant | - |
dc.contributor.author | Prapat Siriprapaporn | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences | - |
dc.date.accessioned | 2018-12-12T02:11:24Z | - |
dc.date.available | 2018-12-12T02:11:24Z | - |
dc.date.issued | 2007 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61058 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007 | en_US |
dc.description.abstract | This study investigated the effectiveness of central postero-anterior (PA) mobilization technique in central and/or bilateral neck pain. A treatment was given twice a week for four weeks. Eighteen participants (23 – 58 years) completed the treatment course. Pain intensity and cervical range of motion (ROM) were assessed pre-treatment and five minutes after each treating appointment. Level of disability and global perceived effect (GPE) were assessed pre-treatment at the fifth and the eighth appointments. After four weeks, 72 percent of participants reported GPE as improved. One-way repeated measures analysis of variance and post hoc analysis demonstrated significant decrease in pain and level of disability (p < 0.05). No statistical differences in cervical ROM among appointments were found (p > 0.05). The results indicate that the central PA mobilization technique is effective in decreasing pain and disability while improving GPE in patients suffering from central and/or bilateral neck pain. The clinical effect on pain is cumulative with the subsequent applications of the mobilization. However, it is not effective in improving cervical ROM. | en_US |
dc.description.abstractalternative | การศึกษานี้ศึกษาประสิทธิภาพของการดัดดึงข้อต่อแนวกลางเป็นจังหวะจากด้านหลังไป ด้านหน้า ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดคอบริเวณแนวกลาง และ/หรือทั้ง 2 ด้านของคอ โดยให้การรักษา สัปดาห์ละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 4 สัปดาห์ผู้ป่วยจำนวน 18 คน (อายุระหว่าง 23 – 58 ปี) เข้าร่วมการศึกษา ครบโปรแกรม โดยทำการวัดความเจ็บปวด และช่วงการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังส่วนคอก่อนและ 5 นาทีหลังการรักษาทุกครั้ง ระดับความไม่สามารถในการทำกิจกรรมและระดับการรับรู้ผลการรักษา โดยรวมก่อนการรักษาครั้งที่5 และ 8 ภายหลังการรักษา4 สัปดาห์ผู้ป่วย 72 เปอร์เซ็นต์รายงานระดับ การรับรู้ผลการรักษาโดยรวมในระดับดีขึ้น ผลวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย One-way repeated measures analysis of variance และ post hoc analysis แสดงการลดลงอย่างมีนัยสำคัญของความเจ็บปวด และระดับความไม่สามารถในการทำกิจกรรม (p < 0.05) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญของช่วงการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังส่วนคอ (p > 0.05) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการดัดดึงข้อต่อ แนวกลางเป็นจังหวะจากด้านหลังไปด้านหน้านั้น มีประสิทธิภาพในการลดความเจ็บปวดและระดับ ความไม่สามารถในการทำกิจกรรม ขณะเดียวกันก็เพิ่มระดับการรับรผู้ ลการรักษาโดยรวม ในผู้ป่วยที่มี อาการปวดคอบริเวณแนวกลาง และ/หรือทั้ง 2 ด้านของคอ ผลการรักษาต่อความเจ็บปวดและระดับ ความไม่สามารถในการทำกิจกรรมนั้น มีผลสะสมเมื่อทำการรักษาครั้งต่อๆไป อย่างไรก็ตามเทคนิค ดังกล่าวไม่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มช่วงการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังส่วนคอ | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2020 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Neck pain | en_US |
dc.subject | Neck -- Diseases | en_US |
dc.subject | Cervical vertebrae -- Diseases | en_US |
dc.subject | Cervical vertebrae -- Diseases -- Treatment | en_US |
dc.subject | ปวดคอ | en_US |
dc.subject | คอ -- โรค | en_US |
dc.subject | กระดูกสันหลังส่วนคอ -- โรค | en_US |
dc.subject | กระดูกสันหลังส่วนคอ -- โรค -- การรักษา | en_US |
dc.title | Effect of a one-month of central postero-anterior mobilization for treating patients with central and/or bilateral neck pain | en_US |
dc.title.alternative | ผลของโปรแกรมการรักษาหนึ่งเดือนของการขยับข้อต่อแนวกลางเป็นจังหวะจากด้านหลังไปด้านหน้า ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดคอบริเวณแนวกลาง และ/หรือทั้ง 2 ด้านของคอ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Physical Therapy | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Rotsalai.K@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Adit.C@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.2020 | - |
Appears in Collections: | All - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prapat Siriprapaporn.pdf | 769.59 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.