Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorสุกรี เจะปูเตะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T02:49:52Z-
dc.date.available2019-09-14T02:49:52Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63161-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบลวดลายซ้ำทางเรขศิลป์ ที่แสดงออกถึงความเป็นวัฒนธรรมไทยมลายู 2) เพื่อหาแนวทางการสื่อสารอัตลักษณ์วัฒนธรรมไทยมลายู สำหรับเจเนอเรชั่น วาย ซึ่งมีขั้นตอนวิจัยโดยศึกษาข้อมูลและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่ เพื่อสร้างแบบสอบถามนำมาวิเคราะห์เป็นแนวทางเพื่อออกแบบลวดลายซ้ำ และนำผลที่ได้ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับทำแบบสอบถามสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับกลุ่มเป้าหมายเจเนอเรชั่น วาย โดยผลวิจัยพบว่า สิ่งที่สามารถสื่อสารวัฒนธรรมไทยมลายูนั้นสามารถแบ่งตามแนวทางรากวัฒนธรรมได้ 8 หมวดหมู่ ซึ่งได้แก่ 1) อาหาร 2) เครื่องแต่งกาย 3) ส่วนประกอบของสถาปัตยกรรม 4) ประเพณี 5) การละเล่น 6) ความเชื่อ พิธีกรรม 7) หัตถกรรม 8) วรรณกรรมพื้นบ้านและตำนาน ซึ่งสิ่งที่สื่อสารวัฒนธรรมไทยมลายูส่วนใหญ่เป็นเรื่องของวิถีชีวิต มีความเกี่ยวข้องกับอาหารการกิน อาชีพ ประเพณีท้องถิ่น สิ่งของเครื่องใช้ การละเล่นพื้นบ้าน รวมไปถึงเรื่องเล่าขานที่เป็นอดีต และรูปทรงมีความเหมาะสมที่ใช้สื่อสารวัฒนธรรมไทยมลายู คือรูปทรง ธรรมชาติ (Organic) รูปทรงเขียนมือ (Hand-Draw) รูปทรงเรขาคณิต (Geometric) และรูปทรงอุบัติเหตุ (Accidental) และมีบุคลิกภาพสีที่เหมาะสม คือ โบราณ (Classic) มีชีวิตชีวา (Dynamic) ดูสง่างาม (Elegant) และดูเป็นธรรมชาติ (Natural)-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: 1) Study the design guidelines for graphic repeating patterns expressing Thai-Malay cultural traditions; 2) Identify ways to create effective communication of Thai-Malay cultural identity for members of Generation Y. The research presented in this study has been carried out by collecting relevant information and conducting interviews with the specialists in a field of Thai-Malay culture in the region. Data were subsequently collected to construct a questionnaire for further analysis in order to identify guidelines for repeating patterns design. The study used a group of focus interview (Focus Group) as an instrument to collect data in order to identify the patterns to create effective communication of Thai-Malay cultural identity for members of Generation Y. The findings revealed that Thai-Malay culture can be categorized into 8 groups based on Cultural Roots as follows: 1) Cuisine; 2) Clothing; 3) Components of Architecture; 4) Customs; 5) Folk Plays; 6) Rituals and Beliefs; 7) Handicraft and 8) Folk Tales, Myths and Legends. As a result, the communication of Thai-Malay culture can be expressed through its ways of life, traditional cuisines, occupations, local customs, local items and objects, traditional folk plays as well as traditional folk tales. In addition, the fittest shapes to express Thai-Malay culture were-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.812-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleการออกแบบลวดลายซ้ำทางเรขศิลป์เพื่อสื่อสารอัตลักษณ์วัฒนธรรมไทยมลายูสำหรับเจเนอเรชั่นวาย-
dc.title.alternativeGraphic design patterns to communicate Thai-Melayu identity for generation Y-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.812-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5886732035.pdf24.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.