Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ฤทธิ์ ธรรมบุตร-
dc.contributor.authorชินภัทร เจริญรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T02:50:07Z-
dc.date.available2019-09-14T02:50:07Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63182-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการประพันธ์เพลงที่นำพุทธปรัชญาเข้ามาเชื่อมโยงกับบทประพันธ์เพลงร่วมสมัย ผู้วิจัยจึงเห็นความสำคัญของดนตรีประเภทนี้ และต้องการที่จะสร้างผลงานประเภทนี้ขึ้นมา และนำพุทธปรัชญาที่ชาวพุทธศาสนารู้จักเป็นอย่างดีคือ “ไตรลักษณ์” ไตรลักษณ์เหมือนเชือกที่มี 3 เกลียว หมายความว่า อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เพราะเป็นลักษณะที่เกิดขึ้นที่เดียวกันคือ เมื่อมีอนิจจังหรือความไม่เที่ยงปรากฏขึ้น มีการเปลี่ยนแปลง เพราะทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ก็คือ เป็นทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์จึงมาจากอนิจจัง ส่วนอนัตตาหมายถึง ความไม่ใช่ตัวตนคือการบังคับบัญชาไม่ได้ บังคับให้ตั้งอยู่ไม่ได้ เมื่อบังคับไม่ได้ก็เป็นทุกข์ ไตรลักษณ์นั้นมีความเกี่ยวเนื่องกับชีวิตประจำวันของมนุษย์อยู่แล้ว ผู้วิจัยจึงเลือกไตรลักษณ์เป็นชื่อบทประพันธ์เพลงร่วมสมัยนี้ โดยมี 3 ท่อนที่บรรเลงต่อเนื่องกัน แต่ให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละท่อนได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ตามลำดับ บทประพันธ์เพลงนี้เป็นบทประพันธ์เพลงสำหรับวงออร์เคสตรา ซึ่งเป็นวงดนตรีขนาดใหญ่ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน บทประพันธ์เพลงนี้ได้แสดงเทคนิคการประพันธ์เพลงแบบสมัยใหม่และใช้เทคนิคสมัยใหม่ในการประพันธ์เพลง โดยผู้วิจัยพยายามนำมาผสมผสานได้อย่างลงตัวและอย่างสร้างสรรค์อีกด้วย บทประพันธ์เพลง “ไตรลักษณ์” เป็นบทเพลงสำหรับออร์เคสตรา โดยมีความยาวประมาณ 12 นาที-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to create the contemporary music composition that are connected with the Buddhist philosophy. The researcher, therefore, sees the importance of this kind of music, and aspires to bring together Buddhist’s “Trilaksana” with new music. “Trilaksana” is like a three-strand rope that represents; Anicca, Dukkha and Anatta. They are tightly chained to each other; when there is Anicca, or when things cannot stand in the same condition forever, it results suffering. Therefore, Dukkha comes from the Anicca. Anatta, or non-self is the state where it is not possible to control oneself, which again, causes sorrow and suffering. Buddhism is already within the human daily life, therefore, the researcher picks the “Trilaksana” and conveys them, musically, by having three movements that are neatly related and connected with one another, but at the same time, they feel different from each other. In regards to Buddhism, those three movements are called Anicca, Dukkha, and Anatta. This piece is a piece for the orchestra, and comprised of modern compositional techniques that are weaved and blended together seamlessly and creatively. The estimate duration of “Trilaksana” is 12 minutes.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.788-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleบทประพันธ์เพลงมหาบัณฑิตนิพนธ์ : "ไตรลักษณ์" บทเพลงสำหรับออร์เคสตรา-
dc.title.alternativeMaster music composition : "Trilaksana" for orchestra-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineดุริยางคศิลป์ตะวันตก-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.788-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6086713735.pdf17.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.