Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63260
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร-
dc.contributor.authorวัชรวิชญ์ จิรวงศาพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T02:56:57Z-
dc.date.available2019-09-14T02:56:57Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63260-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractในขณะที่การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจกระจายเข้าสู่เมืองต่างๆ ทัศนียภาพของแต่ละเมืองถูกปรับเปลี่ยนตามการพัฒนาของเมืองแบบไร้ทิศทางที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและสูญเสียอัตลักษณ์ของทัศนียภาพและวัฒนธรรมของแต่ละเมืองนั้นไป หลังจากที่สำนักงานนโยบายธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ประกาศพื้นที่ในจังหวัดน่านและจังหวัดพะเยาให้เป็นเมืองเก่า ในปี พ.ศ.2549 และ พ.ศ.2559 ตามลำดับ การเก็บข้อมูลและการสร้างวิธีการในการอนุรักษ์เมืองเก่าเหล่านี้จึงมีความสำคัญมากโดยเฉพาะในเรื่องสีที่มีผลมากที่สุดในการรับรู้ จากการสำรวจภาคสนามที่เมืองเก่าน่านและเมืองเก่าพะเยา ผู้วิจัยได้ทำการเก็บข้อมูลตัวอย่างสีด้วยระบบสี Natural Color System จากอาคาร 261 หลัง และทำการวิเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่างเมืองเก่าน่านและเมืองเก่าพะเยาด้วยวิธีการทางสถิติในสองรูปแบบ ได้แก่ การเปรียบเทียบด้วยค่าเนื้อสี และการเปรียบเทียบด้วยค่าความสว่างสีและความสดสี จากข้อมูลที่ทำการวิเคราะห์และเปรียบเทียบสามารถสรุปได้ว่า แม้เมืองเก่าน่านและเมืองเก่าพะเยาอยู่ห่างจากกันไม่มาก แต่ทั้งสองเมืองเก่ามีอัตลักษณ์ทางด้านสีที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนโดยเมืองเก่าพะเยาจะมีแนวโน้มที่จะมีค่าสีที่มืดกว่าและสดกว่าเมืองเก่าน่าน-
dc.description.abstractalternativeWhile cities are developing, the old city sceneries become modernized in different ways with no particular direction and start to lose their unique identities and cultures. After the Office of National Resources and Environmental Policy and Planning declared areas in Nan and Phayao as old towns in 2006 and 2016, respectively, it is important to collect data and establish the regulations to preserve the old town especially by old town’s color usage point of view. The objectives of this thesis are to study and analyze the color elements between the old town in Nan and Phayao. From the fieldworks, 261 color sample data were collected using ‘Natural Color System’ and organized by the building types and elements. The data of each individual old town elements were analyzed and compared through statistics technique in two methods: color’s hue, color’s blackness and chromaticity. As the matter of fact, the two old towns are not very far from each other, the results obviously show that the unique colors and architectural characteristics perform differently. The old town in Phayao’s architectural elements’ colors tend to have more blackness and chromaticity value than the old town in Nan.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1404-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการเปรียบเทียบองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมด้านสีเมืองเก่าน่านและพะเยา-
dc.title.alternativeComparison of color element in historic townscape of Nan and Phayao-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorTerdsak.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1404-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6173344725.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.