Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64245
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล | - |
dc.contributor.author | ภูมิภัทร นิลทยา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-25T09:58:49Z | - |
dc.date.available | 2020-02-25T09:58:49Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64245 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | ยีสต์สะสมไขมันเป็นจุลินทรีย์ทางเลือกหนึ่งสำหรับการผลิตไขมันประเภทไตรเอซิลกลีเซอรอล ซึ่งมี ปริมาณไขมันสะสมมากกว่าร้อยละ 20 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง จุดประสงค์ของการศึกษานี้คือการคัดกรอง ยีสต์สะสมไขมันจากของเสียและของเหลือจากการแปรรูปมะพร้าวจากบริษัท เทพผดุงพรมะพร้าว จำกัด จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย หลังจากการทดสอบตัวอย่างยีสต์ที่คัดกรองได้ด้วย Sudan black B พบยีสต์ ที่มีการติดสีของหยดน้ำมันทัง้ หมด 4 ไอโซเลท คือ TPD1 TPD2 TPD3 และ TPD4 ซึ่งยีสต์ทั้ง 4 ไอโซเลทจะ ถูกเลือกสำหรับการทดสอบวัดปริมาณไขมันที่ผลิตได้ โดยผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ยีสต์ตัวอย่าง TPD2 TPD3 และ TPD4 ซึ่งเป็นตัวอย่างยีสต์ที่คัดกรองได้จาก กากมะพร้าวสีดาและบ่อน้ำเสียรวม ถูกระบุว่าเป็นยีสต์สะสมไขมันเนื่องจากยีสต์ TPD2 TPD3 และ TPD4 มีปริมาณไขมันสะสมร้อยละ 33.18 32.05 และ 28.87 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ตามลำดับ นอกจากนี้จากการศึกษาลำดับเบสบนยีน 18S rRNA พบว่ายีสต์ TPD2 ถูกระบุว่าเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ส่วนยีสต์ TPD3 และ TPD4 Candida tropicalis ผลการวิเคราะห์กรดไขมันซึ่งเป็นกรดไขมันหลักที่สกัดได้จากเชื้อ S. cerevisiae คือ กรดโอเลอิก กรดปาลมิโตเลอิก กรดปาลมิติก และ กรดสเตียริก และ กรดไขมันหลักที่สกัดได้จากเชื้อ C. tropicalis สายพันธุ์ TPD3 และ TPD4 คือ กรดโอเลอิก กรดลิโนเลอิก กรดปาลมิติก | en_US |
dc.description.abstractalternative | Oleaginous yeasts are one alternative microorganism that can accumulate high amount of triacylglycerol lipids greater than 20% of dry cell mass. The objective of this study is to screen oleaginous yeasts from wastes and coconut residue which collected from Theppadungporn coconut Co. Ltd. at Nakhon pathom province, Thailand. When applying Sudan black B tests, 4 isolates namely TPD1, TPD2, TPD3 and TPD4 were selected to test their lipid content and the results showed that stains TPD2, TPD3 and TPD4 isolated from black coconut residue, cesspool and equipment washed water, were identified as oleaginous yeasts with 33.18%, 32.05% and 28.87% of dry cell mass, respectively. In addition, based on the 18S rRNA gene, TPD2 was identified as Saccharomyces cerevisiae and and TPD3 and TPD4 were identified as Candida tropicalis. The major fatty acids of S. cerevisiae were oleic acid, palmitoleic acid, palmitic acid and stearic acid and C. tropicalis were oleic acid, linoleic acid and palmitic acid. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การคัดกรองและตรวจสอบยีน ACC1 ของยีสต์ผลิตไขมันในของเสียจากโรงงาน | en_US |
dc.title.alternative | Screening and detecting ACC1 gene from oleaginous yeasts in waste from factory | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | warawut.c@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Poompat_N_Se_2561.pdf | 933.73 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.