Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65246
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพล วิรุฬห์รักษ์-
dc.contributor.authorศิริมงคล นาฏยกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2020-04-10T21:48:32Z-
dc.date.available2020-04-10T21:48:32Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741733895-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65246-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประวัติศาสตร์ การแสดงละครเพลงของไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2474 – 2532 เน้นความสำคัญของการศึกษาละครเพลงในปี พ.ศ. 2490 – 2496 ซึ่ง เป็นยุคทองของการแสดงละครเพลงของไทย และนำการแสดงละครเพลงเรื่อง ความพยาบาท ของคณะผกาวลีมาเป็นกรณีศึกษา วิธีดำเนินการวิจัยในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์บุคคลที่มีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการแสดงละครเพลงของไทย เช่น ผู้กำกับการแสดง นักดนตรี นักแสดง ผู้เขียนบท ผู้ชม และข้อมูลจากการฝึกภาคปฏิบัติการแสดงละครของผู้วิจัยกับครูลัดดา ศิลปะบรรเลง อดีตผู้กำกับการแสดงเรื่อง ความพยาบาท ผลการวิจัยพบว่า ละครเพลงพัฒนามาจากการแสดงละครร้องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2474 และมีการพัฒนารูปแบบการแสดงจนสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2490 ซึ่งเป็นปีที่การแสดงละครเพลงของไทยเริ่มได้รับความนิยมสูงสุดเรื่อยมาตั้งแต่ พ.ศ. 2490 – 2496 ต่อมาการแสดงละครเพลงของไทยจึงค่อย ๆ เริ่มเสื่อมความนิยมลงจากอิทธิพลของภาพยนตร์ การแสดงละครเพลงปรากฏขึ้นอีกครั้งทางสถานีโทรทัศน์ในปี พ.ศ. 2499 – 2513 และ ปรากฏการแสดงละครเพลงครั้งสุท้าย ในปี พ.ศ. 2532 การแสดงละครเพลงของไทยช่วงแรก ยังคงใช้นักแสดงหญิงล้วนในการแสดง ยกเว้นตัวตลกที่เป็นชาย แต่ในปี พ.ศ. 2474 เป็นต้นมา การแสดงละครเพลงเริ่มมีการใช้นักแสดงชายจริงในการแสดงบทบาทตัวละครฝ่ายชาย ส่วนการขับร้องเพลงประกอบการแสดงละครเรื่องหนึ่ง ๆ ในยุคแรก มีเพลงขับร้องในการแสดงถึง 39 เพลง ต่อมาจึงลดลงเหลือเพียง 2-3 เพลง การแสดงละครเพลงใช้เวลาในการแสดงประมาณ 3 ชั่วโมง ส่วนมากมักมีการแสดง 3-5 ฉาก โดยมีการขับร้องเพลง การแสดงนาฏยศิลป์ไทยหรือสากล สลับในบางช่วงของการแสดงและมีการแสดงจำอวด รวมถึงการขับร้องเพลงสลับหน้าม่านทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนฉาก การแสดงละครเพลงมีลักษณะเป็นการแสดงสมจริงทั้งท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบการแสดง ฉาก และเครื่องแต่งกาย โดยใช้วงดนตรีสากลบรรเลงประกอลการขับร้องและประกอบอารมณ์ของการดำเนินเรื่องในแต่ละฉาก การแสดงละครเพลงเรื่องความพยาบาทมีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการแสดงละครเพลงทั่วไป กล่าวคือมีบทแสดงเดี่ยว (monologue) ยาวมากเป็นพิเศษ ไม่มีการแสดงนาฏยศิลป์และจำอวดสลับการแสดงละครและ การแสดงละครเพลงเรื่องนี้มีความยาวถึง 7 ฉาก ในปัจจุบันไม่ปรากฏการแสดงละครเพลงของไทยบนเวทีอีก และยังมีประเด็นอื่น ๆ อีก มากมายที่น่าสนใยการศึกษาศิลปะการแสดงละครเพลงของไทย-
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims at studying history of Thai musicals called Lakon Pleng from around 1930 to 1989 focussing its golden period 1947 – 1953 with Kwam Pyabat in 1949 as the case study. Research methodology includes documentary review, interviewing of first hand experienced people—director, musicians, actors, playwright, audience and actual practice with Ladda Silapabanleng, original director of Kwam Pyabat. Research finds that Thai musicals were developed from Lakon Rong, earlier musical theatre around 1930, until its full form in 1947. Its golden years were from 1947 to 1953. Its was declined by the movies. It reappeared on television between 1956 – 1970. Last performance was staged in 1989. Lakon Plang at early stage was performed by all females except clowns. From around 1947 males took over male characters. Number of songs declined from 39 to 2 - 3 songs in a play. A Performance last about 3 hours with singing, dancing and comic sketches during 3 – 5 scence changings. Acting, scenery and costume were realistic style. Western music ensemble accompanied singing and used as music background. Kwam Pyabat had some special performance elements – very long monologue, no dancing and comedians, long story which was divided into seven acts. Lakon Pleng is rarely performed today, and there are many subjects of Thai musicals that need to be studied.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectละครเพลง -- ไทยen_US
dc.subjectละครเพลง -- ไทย -- พ.ศ. 2490-2496en_US
dc.subjectMusical theater -- Thailanden_US
dc.subjectMusical theater -- Thailand -- 1947-1953en_US
dc.titleการแสดงละครเพลงของไทย พ.ศ. 2490-2496en_US
dc.title.alternativePerformance of Thai musicals, 1947-1953en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนาฏยศิลป์ไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsurapone.v@chula.ac.th-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirimongkol_na_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.07 MBAdobe PDFView/Open
Sirimongkol_na_ch1_p.pdfบทที่ 1873.06 kBAdobe PDFView/Open
Sirimongkol_na_ch2_p.pdfบทที่ 27.64 MBAdobe PDFView/Open
Sirimongkol_na_ch3_p.pdfบทที่ 34.89 MBAdobe PDFView/Open
Sirimongkol_na_ch4_p.pdfบทที่ 44.44 MBAdobe PDFView/Open
Sirimongkol_na_ch5_p.pdfบทที่ 51.09 MBAdobe PDFView/Open
Sirimongkol_na_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก7.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.