Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67363
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันทา สุวรรโณดม-
dc.contributor.authorธีรยุทธ จงแจ่ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-04T09:14:02Z-
dc.date.available2020-08-04T09:14:02Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.issn9741305419-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67363-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--วิทยาลัยประชากรศาสตร์, 2543en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความล้มพันธ์ระหว่างปัจจัยทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประชากรตัวอย่างกับระดับความพึงพอใจใสภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัยของตนในปัจจุบัน ข้อมูลที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์จากวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้ใช้ข้อมูลของโครงการสำรวจครอบครัวไทย ซึ่งเป็นการสำรวจประชากรในระดับประเทศทั้งเขตชนบทและเขตเมืองเมื่อปี พ.ศ.2537 จำนวน 3,237 ตัวอย่าง นอกจากนี้ยังได้รวบรวมแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางในการวิเคราะห์รวมพังจัดทำแบบจำลองแนวคิดในการศึกษาไว้ด้วย ผลการศึกษาพบประเด็นที่น่าสนใจคือมีข้อมูลทางสถิติที่บ่งชี้อย่างชัดเจนว่าประชากรชายหญิงของประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่ว่าจะอยู่ในเขตชนบทหรือเขตเมืองก็ตามมีความพึงพอใจกับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของตนในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามก็ยังปรากฏความแตกต่างในระดับความพึงพอใจในแต่ละกลุ่มเช่นกัน ผลการศึกษาจากข้อมูลสถิติ แสดงให้เห็นว่ามีความล้มพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระบางตัว แปรกับระดับความพึงพอใจของประชากรตัวอย่างและเมื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยค่าไคสแควร์พบว่าอายุ อาชีพ ระดับการศึกษา การมีกรรมสิทธิ์ในบ้านหรือที่ดิน ลักษณะของที่อยู่อาศัยปัญหาสิ่งแวดล้อมเช่น ปัญหานํ้าเสีย ปัญหาเสียงดัง ปัญหาขยะมูลฝอย ความรบกวนจากเพื่อนบ้านและระยะเวลาเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงาน เป็นตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับระดับความพึงพอใจในสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับเท่ากับหรือตํ่ากว่า 0.05 เมื่อนำข้อมูลชุดนี้มาการวิเคราะห์ด้วยวิธีการจำแนกพหุ พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความพึง พอใจในสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ปัญหาที่เกิดจากพฤติกรรมของเพื่อนบ้าน ปัญหานํ้าเสีย ปัญหาเสียงดังและปัญหาขยะมูลฝอยen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to investigate the relationship between the demographic social-economic and environmental of characteristics of Thai people and their levels of satisfaction on their residential environment. Data used for this analysis are drawn from The General Family Survey which was conducted in 1994 by the College of Population Studies of Chulalongkorn University. There were 3,237 samples in total. Various concepts and theories were taken to be the guideline of this study and conceptual model were also included. Results of this study indicated that majority of Thai people were satisfied with their residential environment, however difference in level of satisfaction are also found. When using chi-square technique for analysis,it confirmed that there were age, occupation, education, house or land owner, a type of house, environmental problems such as water pollution, noise pollution or garbage problem, the disturbance from their neighbours and also the commuting time from to workplace had statistical correlation relationship with level of satisfaction. In addition by using the multiple classification analysis technique, it also confirmed land ownership, disturbance from their neighbours, water pollution, noise pollution and garbage problem had statistical correlation with the satisfaction on residential environment of Thai people.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.102-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectประชากร -- ที่อยู่อาศัย -- ไทยen_US
dc.subjectที่อยู่อาศัย -- ความพอใจของผู้อยู่อาศัย -- ไทยen_US
dc.subjectPopulation -- Dwellings -- Thailanden_US
dc.subjectHousing -- Resident satisfaction -- Thailanden_US
dc.titleความพึงพอใจในสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของประชากรไทยen_US
dc.title.alternativeSatisfaction of the residential environment among Thai populationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีช้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.102-
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Teerayut_jo_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ829.12 kBAdobe PDFView/Open
Teerayut_jo_ch1_p.pdfบทที่ 11.44 MBAdobe PDFView/Open
Teerayut_jo_ch2_p.pdfบทที่ 2963.88 kBAdobe PDFView/Open
Teerayut_jo_ch3_p.pdfบทที่ 31.7 MBAdobe PDFView/Open
Teerayut_jo_ch4_p.pdfบทที่ 41.3 MBAdobe PDFView/Open
Teerayut_jo_ch5_p.pdfบทที่ 5941.58 kBAdobe PDFView/Open
Teerayut_jo_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก731.14 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.