Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67458
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน | - |
dc.contributor.author | นาฏยา งามเสงี่ยม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T02:41:11Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T02:41:11Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741759487 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67458 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | เพลงทยอยเดี่ยวจัดเป็นเพลง “สุดยอดของเพลงเดี่ยว” เพลงหนึ่งเดิมที่พระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกรู) “เจ้าแห่งเพลงทยอย” ได้แต่งขึ้นสำหรับเดี่ยวปี่อวดฝีมือ โดยเฉพาะ ต่อมาภายหลัง ครูบาอาจารย์ทางดนตรีไทยหลายๆ ท่านจึงได้นำมาประดิษฐ์เป็นทางเดี่ยวของเครื่องดนตรีอื่นๆ สำหรับ “จะเข้” นั้น ยังไม่มีผู้ใดได้คิดประดิษฐ์ทำนองเป็นทางจะเข้ขึ้นอย่างเป็นทางการ ทั้งนี้ ผศ.ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ผู้ซึ่งถึงพร้อมด้วยความเป็นศิลปิน จึงได้คิดประดิษฐ์ทางจะเข้นี้ขึ้นเพื่อประดับวงการดนตรีไทยและเป็นมรดกทางวิชาการด้านดนตรีไทยสืบต่อไป งานวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาสังคีตลักษณ์วิเคราะห์เพลงทยอยเดี่ยวทางจะเข้ผลงานการประพันธ์ของ ผศ.ปกรณ์ รอดช้างเผื่อนตลอดจนศึกษาประวัติชีวิตและผลงานของผศ.ปกรณ์ รอดช้างเผือน ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะท่วงทำนองของเพลงทยอยเดี่ยวเป็นเพลงประเภทสองไม้ที่แสดงอารมณ์เศร้าและคร่ำครวญ อย่างผิดหวังได้อย่างวิเศษในช่วงทำนองโอดและตอนท้ายจึงเปลี่ยนเป็นทำนองพันระคนครวญแสดงถึงอาการ ละล้าละลังอัดอั้นตันใจ ซึ่งทำนองโอดและทำนองพันนั้นมีความแตกต่างจากกันโดยสิ้นเชิง ด้วยมิได้นำทำนองโอดนั้นมาทำเป็นทำนองพันเหมือนเช่นเพลงเดี่ยวอื่นๆ 2. ลักษณะโครงสร้างของเพลงทยอยเดี๋ยวนั้นมีคุณลักษณะพิเศษประกอบด้วย “ทำนองโยน” เป็นส่วน ใหญ่จึงนับเป็นโอกาสให้ผู้บรรเลงและผู้ประพันธ์ได้คิด “ประดิษฐ์” พลิกแพลง ทำนองโยนนั้นตามความรู้ ความสามารถเพื่อฉายภูมิแห่งดนตรีการของแต่ละบุคคล ซึ่งผศ.ปกรณ์ รอดช้างเผื่อนได้ใช้โอกาสนี้นำเทคนิคกลวิธีพิเศษต่างๆ ของการบรรเลงจะเข้มาร้อยกรองท่วงทำนองให้ถึงพร้อมความงามและความไพเราะได้อย่างสมบูรณ์ถึงแม้ว่าจะเข้เป็นเครื่องดนตรีที่มีคุณลักษณะที่ยากต่อการบรรเลงเพลงประเภทนี้ 3. ผลงานการประดิษฐ์ท่วงทำนองในเพลงทยอยเดี่ยว ทางจะเข้ของผศ.ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน นั้นได้พบ สำนวนที่คล้ายคลึงกับสำนวนเกี่ยวของเพลงเดี่ยวต่างๆผสมผสานอยู่ด้วยกันหลายสำนวน เช่น เดี่ยวกราวใน เดี่ยวเชิดนอกและเพลงทยอยใน 4. จากการศึกษาประวัติและผลงานของผศ.ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นศิลปินผู้ประกอบด้วยจรรยาพรรณแห่งศิลปินอีกทั้งผลงานต่างๆที่ได้คิดริเริ่มสร้างสรรค์ไว้นั้นเป็นผลอันเนื่องมาจากการปลูกฝังด้านดนตรีไทยมาจากครอบครัวตั้งแต่อดีตและได้ศึกษาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันซึ่งมีผลงานนั้นเป็นที่ยอมรับจากบุคคลทั่วไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | Tayoy Deow is categorized as one of the Top of Pleng Deow Formerly, Phra Pradit Pairual (Mee Duriyanggura)Masterof Pleng Tayoy composed for Deow Pee in order to express art skill particularly,later many Thai musical professors created for other musical instrument solo. For Jakhay, nobody creatd fomal jakhay style, therefore, Asst.Prof.Pakorn Rodchangphuen who is a professional artist created Jakhay style for thai musical domain and for heritage of thai technical music continually. This research studies music idenity for analysis Jakhay style in Tayoy Deow which is composed by Asst.Prof.Pakorn Rodchangphuen and his curriculum vitae including his achievement. The research found that: 1.The rhythm of Pleng Tayoy Deow is Song Mai type song which shows marvelous sorrow and disappointed lament in Oad Tone and finally is changed to Pun Tone which shows depressed mood, in fact, Oad Tone is distinctively different from Pun Tone. It did not develop Oad Tone to be Pun Tone as other soloes. 2.Tayoy Deow structure has a specific character of Yone Tone mostly it is a good occasion for a musical player and composer to create and invent flexibly of Yone Tone according to his capability in order to exhibit individual musical skill. Asst.Prof.Pakorn Rodchangphuen took this occasion to use specific technic to play Jakhay for beautiful melody perfectly although Jakhay is the musical instrument which its charater is difficult to play with this style. 3.The invention of the melody of Jakhay in Tayoy Deow of Asst.Prof.Pakorn Rodchangphuen was found that melody is similarly to other solo mixing such as Deow Graownai, Deow Cherdnok and Pleng Tayoynai. 4. from the study on Asst.Prof.Pakorn Rodchangphuen's curriculum vitae and his achievement, it reflected on his artistry that composed of artist ethic. Moreover, his created achievement of Thai music came from his family's fostering his abilty in the past and his education continually until the present time. Obviously his achievement is accepted by all people. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน | en_US |
dc.subject | เครื่องดนตรีไทย | en_US |
dc.subject | เพลงไทยเดิม | en_US |
dc.subject | จะเข้ | en_US |
dc.subject | Musical instruments, Thai | en_US |
dc.title | วิเคราะห์เพลงทยอยเดี่ยว ทางจะเข้ ครูปกรณ์ รอดช้างเผื่อน | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of Jakhay style in Tayoy Deow Kru Prakorn Rodchangphuen | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ดุริยางค์ไทย | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nattaya_ng_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 827.07 kB | Adobe PDF | View/Open |
Nattaya_ng_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nattaya_ng_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nattaya_ng_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 849.13 kB | Adobe PDF | View/Open |
Nattaya_ng_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 7.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Nattaya_ng_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 732.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Nattaya_ng_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.