Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67740
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิต จินดาวณิค-
dc.contributor.advisorพรรณชลัท สุริโยธิน-
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ มุตติศานต์-
dc.date.accessioned2020-08-27T07:28:21Z-
dc.date.available2020-08-27T07:28:21Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741420862-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67740-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาหาปัจจัยกายภาพของหิ้งสะท้อนแสงที่มีผลต่อการนำ แสงธรรมชาติเข้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผ่านช่องเปิดทิศเหนือ และทิศใต้ ขอบเขตการศึกษาได้ทำการศึกษาเฉพาะอาคารประเภทสำนักงานที่ตั้งในเขตละติจูดที่14 องศาเหนือ และมีช่วงเวลาการใช้งานอยู่ ระหว่าง 8:00 - 16:00 น. รวมเป็นระยะเวลาใช้งาน 8 ชั่วโมงต่อวัน หิ้งสะท้อนแสงทั่วไปถูกนำมาศึกษาและกำหนดตัวแปรโดยการทดลองจะอาศัยหุ่นจำลองและห้องจำลองท้องฟ้า (skydome) วัดค่าความสว่างโดยประเมินจากค่า Daylight Factor (DF) ที่1ไม่ตํ่ากว่าเกณฑ์ 2.0 % ผลการทดลองถูกนำมาสรุปรูปแบบตัวแปรที่มีประสิทธิภาพที่ให้ระยะการส่องสว่างด้วยแสงธรรมชาติที่ความลึกมากที่สุดของช่องเปิดทิศเหนือ และทิศใต้จากนั้นได้มาทำการออกแบบต้นแบบหิ้งสะท้อนแสง และนำมาคำนวณเปรียบเทียบกับข้อมูลปริมาณแสงกระจายจากท้องฟ้าเฉลี่ยเป็นรายชั่วโมงของทุกเดือน เพื่อหาความส่องสว่างจากแสงธรรมชาติ ในชั่วโมงที่ไม่ จำเป็นต้องใช้พลังงานไฟท้า และประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน โดยจะเปรียบเทียบพื้นที่ใช้งานที่เปิดใช้พลังงานไฟฟ้า 8 ชม.ต่อวัน กับพื้นที่ใช้งานที่ติดตั้งตัวแทนหิ้งสะท้อนแสง และพื้นที่ใช้งานที่ติดตั้งต้นแบบหิ้งสะท้อนแสงจากการประเมินผลการประหยัดพลังงานของต้นแบบหิ้งสะท้อนแสงช่องเปิดทิศเหนือพบว่าสามารถลดการเปิดใช้ไฟท้าแสงสว่างเป็นระยะเวลา 601 ชั่วโมงต่อปี หรือ 29.1 % ของจำนวนชั่วโมงใช้งานตลอดทั้งปีเพิ่มขึ้นจากตัวแทนหิ้งสะท้อนแสง 54.5 % หรือ 212 ชั่วโมง และมีประสิทธิภาพช่วยเพิ่มพื้นที่ส่องสว่างด้วยแลง ธรรมชาติ 0.38 เมตร ลดค่าไฟฟ้าลงได้ 13.63 % และต้นแบบหิ้งสะท้อนแสงชองช่องเปิดทิศใต้สามารถลดการ เปิดใช้ไฟท้าแสงสว่างเป็นระยะเวลา 44 ชั่วโมงต่อปี หรือ 2.1 % ของจำนวนชั่วโมงใช้งานตลอดทั้งปี มี ประสิทธิภาพช่วยเพิ่ม พื้นที่ส่องสว่างด้วยแสงธรรมชาติ 0.58 เมตร ลดค่าไฟท้าลงได้ 25.54 % แต่เมื่อเทียบกับพื้นที่เท่ากัน ที่เปิดใช้ไฟท้าแลงประดิษฐ์ตลอดทั้งวัน จากช่องเปิดทิศเหนือลดค่าไฟท้าลงได้ 84.42 % และช่อง เปิดทิศใต้ลดค่าไฟท้าลงได้ 70.10 % และการออกแบบผสานต้นแบบหิ้งสะท้อนแสงช่องเปิดทิศเหนือ และทิศใต้ให้ได้ระยะความกว้างของอาคารที่สามารถใช้แสงธรรมชาติได้มากที่สุด คือระยะความกว้าง 14.00 เมตร หาก เกินกว่านั้นต้องเพิ่มค่าความสว่างภายในจากแสงประดิษฐ์หรือผสานการนำแสงธรรมชาติจากด้านบนข้อสรุปที่ได้จากการศึกษาจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบหิ้งสะท้อนแสง ซึ่งไม่เจาะจงเฉพาะแต่อาคารสำนักงานสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลายเพื่อเป็นแนวทางในนำแสงธรรมชาติมาใช้ในอาคารให้มีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน-
dc.description.abstractalternativeThis thesis is an experimental research whose main objective is to study the physical factors of the lightshelf which affect the maximum use of daylighting through the north and the south fenestrations. This research investigates only offices lying on a latitude of 14 degrees north between 8 a.m. and 4 p.m. The total working hours are 8 hours a day. The general lightshelf is studied and variables are defined. A model and a skydome are used in the experiment. The value of illuminance is assessed based on Daylight Factor (DF) which is not lower than the standard (2.0%). The findings are used to determine which variables cause daylighting to pass through the north and the south fenestrations staying the longest and covering the longest distance. After that the prototype of the new lightshelf is designed to compare the hourly mean values of diffuse illuminance. These values indicate only when daylighting can be used to replace electric light and the efficiency of energy saved by comparing the functional area where electric light is left on 8 hours a day with the functional area with the prototype of the new lightshelf. It is found that with the prototype installed in the north fenestration, the duration of electricity use can be reduced by 601 hours a year (29.1%). เท addition, the prototype can reduce the duration of electricity use by 54.5% or 212 hours more than the general lightshelf. It can increase the illuminated area through daylighting by 0. 38 meter. The electricity bill can be reduced by 13.63%. However, with the prototype installed in the south fenestration, the duration of electricity use can be reduced by 44 hours a year (2.1%). The illuminated area by daylighting can be increased by 0.58 meter by daylighting and an electricity bill can be reduced by 25.54%. When compared with the electric light being left on all day, through the north fenestration, the prototype can reduce the electricity bill by 84.42% and by 70.10% through the south fenestration. Additionally, 14 meters is the width of the building that daylighting can be of the maximum use to by means of the prototype. If the width of the building is more than 14 meters, electric light or toplighting has to be used as a supplement to existing light. The prototype lightshelf is not designed specifically for offices. It can be applied to other types of building so that daylighting can be used efficiently resulting in saving energy-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.333-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแสงธรรมชาติen_US
dc.subjectการให้แสงธรรมชาติen_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมกับการอนุรักษ์พลังงานen_US
dc.subjectDaylighten_US
dc.subjectDaylightingen_US
dc.subjectArchitecture and energy conservationen_US
dc.titleปัจจัยกายภาพหิ้งสะท้อนแสงที่มีผลต่อการนำแสงธรรมชาติเข้ามาใช้ในอาคารen_US
dc.title.alternativeThe impacts of lightshelf' s physical factors on daylighting in buildingsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThanit.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPhanchalath.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.333-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaiwat_mu_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.08 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_mu_ch1_p.pdfบทที่ 11.03 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_mu_ch2_p.pdfบทที่ 23.26 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_mu_ch3_p.pdfบทที่ 31.85 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_mu_ch4_p.pdfบทที่ 42.75 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_mu_ch5_p.pdfบทที่ 53.03 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_mu_ch6_p.pdfบทที่ 61.07 MBAdobe PDFView/Open
Chaiwat_mu_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก4.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.