Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67788
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จารุวรรณ ลิมปเสนีย์ | - |
dc.contributor.author | ปรีดา เซะวิเศษ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | จังหวัดสมุทรปราการ | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-02T07:21:21Z | - |
dc.date.available | 2020-09-02T07:21:21Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743349995 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67788 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและประชากร และรูปแบบการขยายตัวของชุมชนเมืองอันเนื่องมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม ศึกษาลักษณะโครงสร้างการบริหารและการจัดการชุมชนเมืองอันเนื่องมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการ ในการศึกษาปัญหาและศักยภาพวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและเศรษฐกิจของพื้นที่เพื่อหาความเหมาะสมของพื้นที่ทางด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยใช้เทคนิค Sieve Analysis ผลจากการศึกษาพบว่าพื้นที่ที่มีปัญหาหรือข้อจำกัดสูงสุดอันดับ ในการพัฒนาอุตสาหกรรม ได้แก่พื้นที่บริเวณตำบลนาเกลือ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ บางส่วนของตำบลบางปลา อำเภอบางพลี ตำบลคลองสวน ตำบลคลองด่านและตำบลบ้านระกาศ อำเภอบางบ่อ รองลงมาได้แก่ พื้นที่ทางตอนเหนือของจังหวัดในตำบลคลองสวร ตำบลหนองปรือ ตำบลคลอนิยมยาตราและบางส่วนของตำบลบางพลีใหญ่ พื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการพัฒนาอุตสาหกรรมแบ่งเป็น 3 ลำดับ บริเวณที่มีศักยภาพสูงสุดลำดับที่หนึ่ง ได้แก่ ตำบลแพรกษา ตามแนวถนนพุทธรักษาต่อเนื่องกับตำบลบางปูใหม่ นิคมอุตสาหกรรมบางปู และตำบลท้ายบ้าน พื้นที่ที่มีศักยภาพสูงลำดับที่สองได้แก่ พื้นที่วนใหญ่ของอำเภอเมืองสมุทรปราการและอำเภอบางพลี โดยเฉพาะในตำบลบางแก้ว ซึ่งเป็นพื้นที่ปิดล้อมมีแนวป้องกันน้ำท่วม และพื้นที่อำเภอพระประแดงฝังตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พื้นที่ที่มีศักยภาพสูงลำดับที่สามได้แก่ พื้นที่ของอำเภอบางพลีและกิ่งอำเภอบางเสาธง และ บางส่วนของอำเภอบางบ่อ ตามแนวของถนนบางนา-ตราด และถนนสมโภชรัตนโกสินทร์ 200 ปี พื้นที่ของอำเภอพระประแดงฝั่งตะวันตกและบางสวนของอำเภอพระสมุทรเจดีย์ตามแนวถนนสุขสวัสดิ์ และถนนพระสมุทรเจดีย์-สมุทรสาคร การศึกษาได้เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการบริหารจัดการเมือง กลยุทย์และมาตราการจัดการด้านการขยายตัวของเมืองซึ่งเกิดจากการพัฒนาอุตสาหกรรม | - |
dc.description.abstractalternative | This thesis studied physical, socio-economic, population and urban growth pattem from industrial development. To study community administrative and structure management from industrial expansion of Samutprakan province. To find out the problems and its potential of industrial development. The Sieve Analysis Technique was used. From the study, it was found that, the first highest of limitation for being an industrial development areas are : Tumbon Naklur. Some part of Tumbon Ban klong Suan. Tumbon Bangpla in Amphur Banghli, Tumbon klongdan and Tumbon Banrakad in Amphur Bang-Bor, The second Highest limitation areas are ; The north part area of the province in Tumbon khlong Souan, Tumbon Nongpru, and Tumbon klong Niyom Yatra. The potential areas for being an industrial development are divided into 3 hierarchies , The first hierarchy the highest potential areas are : Tumbon praksa from Buddha Ruksa Road to Tumbon Bangpoo, Bangpoo Industrial Eastate and Tumbon Tai-Ban The second hierarchy areas are : the almost area of Amphur Muang Samutprakan, Amphur Bangphil, particularly in Tumbon Bang kaew and Tumbon Bangphli-Yai in Amphur Bangphli Where flood protection is convered, and the east bank of the Chao phraya River in Amphur prapradaeng. The third hierarchy areas are : the almost area of Amphur Bangphli, Bang Sao Thong And some part of Amphur Bang-Bor with along Bangna-Trad and sompoth 200 yeaars Ratanakosin Road, and the west bank of Amphur prapradaeng, some part of Suksawat and Phra Samut-Jadee Road in Amphur Phra Samut-Jadee. This study proposed the development policy guidelines with consist of industrial and urban Management, including infrastructure amendmeable pian. These policy guidelines are to serve the Urban growth from industrial development. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | เมือง -- การเจริญเติบโต | - |
dc.subject | การพัฒนาอุตสาหกรรม -- ไทย -- สมุทรปราการ | - |
dc.subject | ผังเมือง -- ไทย -- สมุทรปราการ | - |
dc.subject | การใช้ที่ดิน -- ไทย -- สมุทรปราการ | - |
dc.title | การวางแผนเพื่อการจัดการด้านการขยายตัวของชุมชนเมือง อันเป็นผลมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรมบริเวณจังหวัดปริมณฑล ของกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ | - |
dc.title.alternative | Planning for urban growth management related to industrial development in the vicinities of Bangkok : a case study of Samutprakan province | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | การวางผังเมือง | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Preeda_se_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Preeda_se_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 718.46 kB | Adobe PDF | View/Open |
Preeda_se_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Preeda_se_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 10.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Preeda_se_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 3.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Preeda_se_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Preeda_se_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Preeda_se_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 687.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.