Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68073
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผุสดี ทิพทัส | - |
dc.contributor.advisor | บัณฑิต จุลาสัย | - |
dc.contributor.author | ฐิติวุฒิ ชัยสวัสดิ์อารี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-22T01:54:17Z | - |
dc.date.available | 2020-09-22T01:54:17Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.issn | 9743349804 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68073 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | ชุมชนหัวหินเป็นย่านพักอาศัยและการพานิชย์ที่รองรับกิจกรรมการพักตากอากาศ ตั้งแต่มีการเปิดสถานีรถไฟหัวหิน ในปี พ.ศ.2454 โดยเฉพาะชุมชนแห่งแรกของหัวหิน บริเวณ ถนนนเรศดำริห์ ซึ่งปัจจุบันความเจริญด้านการท่องเที่ยวทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและเป็นปัญหาอย่างมาก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เสนอแนวทางการอนุรักษ์ชุมชนหัวหิน โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณ ถนน นเรศดำริห์เป็นกรณีศึกษา โดยทำการรวบรวมข้อมูลทางกายภาพโดยการสำรวจ สังเกต ร่วมกับการถ่ายภาพ การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง และค้นคว้าข้อมูลประวัติศาสตร์ ตลอดจนศึกษานโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ทำการวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากนโยบายต่างๆและอ้างอิงทฤษฎีหรือเปรียบเทียบกับกรณีศึกษาอื่น เพื่อสรุปเป็นข้อเสนอแนะในการอนุรักษ์ที่เหมาะสม จากการศึกษาพบว่า พื้นที่บริเวณถนนนเรศดำริห์มีการใช้ดินที่สำคัญออกเป็น 4 ส่วน คือ บริเวณที่1 ตั้งแต่จุดตัดระหว่างถนนนเรศดำริห์กับถนนดำเนินเกษมจนถึงสุดโรงแรมเมเลีย เป็นพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพมากที่สุด มีการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ที่ส่งผลกระทบในด้านภูมิทัศน์ของชุมชนหัวหิน บริเวณที่2 ตั้งแต่โรงแรมเมเลียจนถึงจุดตัดระหว่างถนนนเรศดำริห์กับถนนเดชานุชิต เป็นพื้นที่ที่มีการต่อเติมและดัดแปลงอาคารเก่าเพื่อประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว ส่งผลกระทบในด้านรูปแบบของอาคารและความเป็นระเบียบของชุมชน บริเวณที่3 ตั้งแต่ถนนเดชานุชิดจนถึงบริเวณพื้นที่เปิดโล่งของร้านอาหาร เป็นพื้นที่ที่ยังมีอาคารพักอาศัยเก่าเหลืออยู่มากและยังคงลักษณะและบรรยากาศของชุมชนเก่าอยู่บ้าง แต่มีการสร้างร้านอาหารยื่นลไปในทะเลที่ส่งผลกระทบด้านสภาพแวดล้อม บริเวณที่4 ตั้งแต่บริเวณพื้นที่เปิดโล่งของร้านอาหารจนถึงสะพานปลาตัดกับถนนชนสินธุ์ เป็นพื้นที่โล่งที่ใช้เป็นที่จอดรถและมีร้านอาหารสร้างรุกล้ำพื้นที่ชายหาด ทำให้ไม่สามารถใช้พื้นที่บริเวณชายหาดได้และส่งผลกระทบด้านสุภาพแวดล้อม ทางด้านนโยบาลที่เกี่ยวข้อง พบว่ามีส่วนที่ส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ไปในทางอนุรักษ์มากยิ่งขึ้น การวางแผนการพัฒนาและกลยุทธ์การฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวที่สนับสนุนความเป็นแชอกลักษณ์ของท้องถิ่น การอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านประวัติศาสตร์ และการพัฒนาที่นำไปสู่การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ประกอบกับคนในพื้นที่ที่เริ่มให้ความสำคัญในการอนุรักษ์เพื่อเป็นปัจจัยส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว ทำให้พื้นที่บริเวณย่างชุมชนเก่าหัวหินมีศักยภาพในการอนุรักษ์ ดังนั้นจึงสรุป ข้อเสนอแนะในการอนุรักษ์พื้นที่บริเวณ ถนน นเรศดำริห์ ได้ดังนี้ คือ จัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของพื้นที่ ได้แก่ การใช้พื้นที่ ระบบสัญจร ที่เว้นว่าง และภูมิทัศน์โดยรวมของชุมชนหัวหิน ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีความเป็นธรรมชาติและคงเอกลักษณ์ของย่านชุมชนเก่าให้คงอยู่และเหมาะสมกับการพัฒนาที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงและต่อเติมอาคารเก่าและการก่อสร้างอาคารใหม่ในชุมชนหัวหินต้องให้มีความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมในพื้นที่ | - |
dc.description.abstractalternative | HuaHin has become one of Thailand’s mostly-visited seaside resorts and commercial spots since the opening of a railway station in 1911. The oldest community is in Naret Damn Street area, Which has been radically changed and disturbed by tourism growth. The purpose of this study is to find guidelines on the preservation of Hua Hin community, with Naret Damri Street area selected for a case study. The study has been carmied out by means of physical data collection via a field survey observation and photographing: interviews with concerned parties: research of archival records: and study of relevant policies. Physical development of the area has been ident:fied and problems and impacts from govemmental policies have been analyzed by theoretical references or comparison with other case studies to come up with proper preservation guidelines. From the study, the landuse at Naret Damri Street area can be divided into four major parts: -Zone 1 study. The landuse at Naret Damri and Damnoen Kasem Intersection to Melia Hotel. The most physical change was made to this area, with the landscape jeopardized by many large buildings. -Zone 2 from Melia Hotel to Naret Damri and Decha Nuchit Intersection. Old buildings were modified and remodeled for tourism business purpose impacting architectural structure of the buildings and community order. -Zone 3 from Decha Nuchit Street to seafood restsurant platform. Several old houses in the historical atmosphere can still be found in this area. However food shops were built out into the sea causing environmental impacts. -Zone 4 from the seafood restsurant platform to the intersection of a pier and Chorsin street. This is an open area used for car parking. Some restaurants trespass on the beach preventing comfortable use of the beach area and harming the environment. It is found that relevant govemmental policies have placed a greater focus on conservation-oriented land development. Likewise tourist spot rejuvenation strategies and development plans have been mapped out with more concern over local identity promotion historical place rehabillition and preservation and sustainable tourism In the meantime local people have been increasingly aware of the conservation issue in a bid to bolster the tourism activities thus giving the old Hua Hin community a potential of preservation. The following steps are therefore recommended for the preservation of Naret Damri Street area: -Rearrange land order involving the utilization of land area traveling system spacing and overall landscape to ensure a favorable environment maintenance of natural character and uniqueness of the community and compatibility with the new development. -Ensure the old buildings renovation and new construction harmonize well with the surroudings. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การใช้ที่ดินในเมือง -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์ | - |
dc.subject | ย่านประวัติศาสตร์ | - |
dc.subject | หัวหิน (ประจวบคีรีขันธ์) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | - |
dc.subject | ถนนนเรศดำริห์ (หัวหิน) | - |
dc.subject | หัวหิน (ประจวบคีรีขันธ์) -- ภาวะสังคม | - |
dc.subject | หัวหิน (ประจวบคีรีขันธ์) -- ภาวะเศรษฐกิจ | - |
dc.title | การศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางอนุรักษ์ชุมชนเก่าหัวหิน : กรณีศึกษา พื้นที่บริเวณ ถนนนเรศดำริห์ | - |
dc.title.alternative | The study for conservation guidelines of Huahin old town : case study Naresdamri Street area | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thitiwoot_ch_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thitiwoot_ch_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 896.35 kB | Adobe PDF | View/Open |
Thitiwoot_ch_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thitiwoot_ch_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 4.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thitiwoot_ch_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thitiwoot_ch_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 7.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thitiwoot_ch_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 3.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thitiwoot_ch_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 2.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.