Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71461
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน | - |
dc.contributor.author | ปรัชญา บุญมาสูงทรง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-09T07:58:00Z | - |
dc.date.available | 2020-12-09T07:58:00Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741422709 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71461 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | ละครชาตรีเริ่มแพร่หลายในกรุงเทพฯ มาตั้งแต่คราวที่ชาวเมืองนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา อพยพเข้ามาสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เรื่องรถเสนเป็นชาดกเรื่องหนึ่งอยู่ในคัมภีร์ปัญญาสชาดก ชื่อตัวละครเอกในเรื่องรถเสนคือ พระรถเสนและนางเมรีไปฟ้องกับนามบุคคลที่มีตัวตนในพงศาวดารล้านช้าง นายมนตรี ตราโมท เป็นผู้ปรับปรุงบทละครเรื่องรถเสนออกแสดง ณ โรงละครแห่งชาติ และเป็นผู้ บรรจุเพลงร่ายชาตรีทั้ง 3 ชนิด ลงในบทละครโดยร่ายชาตรีหนึ่งใช้ดำเนินเรื่อง ร่ายชาตรีสอง เป็นบทตลก ร่าย ชาตรีสามเป็นบทโศก โครงสร้างทำนองร่ายชาตรีทั้ง 3 ชนิด มีเค้าโครงมาจากการแสดงละครโนราชาตรีในสมัย โบราณ วัตถุประสงค์ของการวิจัยผู้วิจัยได้ศึกษาประวัติความเป็นมาของเรื่องรถเสน และการแสดงละครเรื่อง รถเสน ความสัมพันธ์ของทำนองร่ายชาตรีและคำประพันธ์ที่ใช้ขับร้อง และเปรียบเทียบทำนองขับร้องร่ายชาตรี ชนิดต่าง ๆ ด้วยกระบวนการสังคีตลักษณ์วิเคราะห์ ผลการวิจัย พบประเด็นที่สำคัญดังนี้ 1. ละครชาตรีเป็นละครที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เป็นบ่อเกิดของละครชนิดอื่น ๆ 2. เรื่องรถเสนเป็นชาดกเรื่องหนึ่งในปัญญาสชาดก 3. ร่ายชาตรีหนึ่งมีระดับเสียงห่างกันเป็นคู่สอง ร่ายชาตรีสองมีระตับเสียงห่างกันเป็นคู่สี่ และร่าย ชาตรีสามมีระดับเสียงเป็นกลุ่มปัญจมูล 4. จังหวะหน้าทับประกอบการร้องร่ายรำชาตรีมีลักษณะเด่นในด้านความบีบคั้น ความคลี่คลาย และ การซ้ำจนเกิดเอกภาพตลอดจนจบลงด้วยความบริบูรณ์ 5. เสียงวรรณยุกต์ของคำร้องร่ายชาตรีมีความสัมพันธ์ต่อทำนองร่ายชาตรี | - |
dc.description.abstractalternative | Chatri Plays begar to be widespread in Bangkok since people from Nakornsrithummard Puttalung and Songkla moved to Bangkok in the Reign of King Rama the third of Rattanagosin. Rothasen is one of the Chadok in Punyassachadok The main characters are Pra-Rctthasen and Mary, which are the same names as what mentioned in Lan-Chang history Mr. Montri Tramote adapted the plays "Rotthasen" and performed at National Theatre He also composed three kinds of "Rai-Chatri" songs for using in the plays. The first Rai-Chatri was used in telling the story.the second Rai-Chatri was used in comic scene, and the third Rai-Chatri was used in tragic scene of the plays These three types of Rai-Chatri had the outline from the performance of “Nora-Chatri" plays in the ancient time The purpose of the thesis is to study the history of Rotthasen's story and the performance of Rotthasen plays. The relationship between Rai-Chain melody and the poem used in singing, as well as the comparison of various Rai-Chatri melody were discussed in this study by using method of musical characteristics analysis. The results found from the study are as followings 1. Chatri plays is not only the oldest plays of Thailand but also the origin of other types of 2. Rotthasen is one of Chadok in Punyassachadok 3. The first Rai-Chatri has sound leveled in second interval, the second Rai-Chatri has sound leveled in forth interval, and the third Rai-Chatri has sound leveled n pentacentric mode. 4. Rhythm used in singing Rai-Chatri has outstanding characteristic in conflict & resolution of sound, the repetition creating unity, as well as the completeness end. 5. Tone marks of Rai-Chatri lyrics related to Rai-Chat melody. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ละครชาตรี | en_US |
dc.subject | Lakhon chatri plays | en_US |
dc.title | วิเคราะห์ร่ายชาตรีในเรื่องรถเสน | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of Rai-Chatri in Rotthasen | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ดุริยางค์ไทย | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Pornprapit.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prachya_bo_front_p.pdf | 777.72 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prachya_bo_ch1_p.pdf | 815.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prachya_bo_ch2_p.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prachya_bo_ch3_p.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prachya_bo_ch4_p.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prachya_bo_ch5_p.pdf | 671.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prachya_bo_back_p.pdf | 2.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.