Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72038
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชรี ปานกุล | - |
dc.contributor.author | อุไรรัช บูรณะคงคาตรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-01-28T08:25:45Z | - |
dc.date.available | 2021-01-28T08:25:45Z | - |
dc.date.issued | 2538 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72038 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนมีวัตฤประสงค์เพื่อศึกษาผลของ pH ความเข้มข้นและชนิดน้ำตาลต่อการเกิดเจลความแข็งแรงของเจลและการยอมรับด้านรสชาติในเพกตินชนิดเมทอกชีสูง โดยศึกษาในน้ำตาลชูโครส fructose syrup (42% fructose dry basis) และ glucose syrup (40 dextrose equivalent) ขั้นแรกศึกษาผลของ pH และความเข้มข้นของน้ำตาลทั้ง 3 ชนิดต่อการเกิดเจล ใช้เพกตินความเข้มข้น 0.5% โดยน้ำหนักเจล โดยศึกษาช่วง pH (2.0, 2.5, 3.0, 3.5) และความเข้มข้น น้ำตาล (50, 60, 70, 80 °Brix) พบว่า ในน้ำตาลซูโครส ช่วง pH 2.0-2.5 เจลเกิดที่ความเข้มข้น น้ำตาล 50-70 °Brix ช่วง pH 2.5-3.0 เจลเกิดที่ 60-70 °Brix ส่วน fructose syrup ช่วง pH 2.0-3.0 เจลเกิดที่ 50-70 °Brix ช่วง pH 3.0-3.5 เจลเกิดที่ 70°Brix และในน้ำตาล glucose syrup ช่วง pH 2.0-2.5 เจลเกิดที่ 50 °Brix ช่วง pH 2.5-3.0 เจลเกิดที่ 50-60 °Brix ขั้นที่สอง ศึกษาผลของ pH ความเข้มข้นและชนิดน้าตาลต่อความแข็งแรงของเจล โดยวัดค่า modulus และ firmness พบว่าในน้ำตาล fructose syrup ค่าความแข็งแรงของเจลจะลดลงเมื่อความเข้มข้นของน้ำตาลเพิ่มขึ้น และ pH มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความแข็งแรงของเจลเล็กน้อย โดยการ เพิ่ม pH จะทำให้ความแข็งแรงเพิ่มขึ้นเล็กน้อยที่ความเข้มข้นสูง (>66 °Brix) แต่เมื่อความเข้มข้นน้ำตาลต่ำกว่า (50-65 °Brix) การเพิ่มของ pH จะทำให้ความแข็งแรงลดลง ในน้ำตาล glucose syrup ความแข็งแรงของเจลจะลดลง เมื่อเพิ่มความเข้มข้นน้ำตาลในช่วง 50-60 °Brix และ/หรือ เมื่อ pH เพิ่มขั้น ความเข้มข้นน้ำตาลจะมีผลต่อความแข็งแรงของเจลมากกว่า pH ในน้ำตาลทั้งสองชนิด โดยน้ำตาล fructose syrup มีค่าความแข็งแรงสูงสุดของเจลมากกว่าน้ำตาล glucose syrup สำหรับน้ำตาลซูโครสจากการวิเคราะห์ข้อมูลโดย regression analysis พบว่าได้ค่า R2 ที่ต่ำมาก (<0.4) จึงมิได้นำไปศึกษาในขั้นต่อไป ขั้นตอนสุดท้ายศึกษาการยอมรับทางด้านรสชาติของเยลลี่ที่เตรียมจากน้ำตาล fructose syrup และ glucose syrup ที่มีความแข็งแรงของเจลสูง โดยคัดเลือกภาวะในการเตรียม เยลลี่จาก response surface methodology model พบว่าเยลลี่ที่เตรียมจากน้ำตาล fructose syrup ซึ่งมีความเข้มข้นน้ำตาล 50.80 °Brix pH 2.2 และทีเตรียมจาก glucose syrup ความเข้มข้นน้ำตาล 50.60 °Brix pH 2.52 เป็นตัวอย่างเยลลี่ผู้ทดสอบชอบมากที่สุดในน้ำตาลชนิดนั้น ๆ นอกจากนผู้ทดสอบมีความชอบเยลลี่ซึ่งค่าความแข็งแรงของเท่ากันที่เตรียมจากน้ำตาล fructose syrup มากกว่าที่เรียมจากน้ำตาล glucose syrup | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study the effects of pH, concentration as total soluble solid (TSS) and types of sugar (sucrose, fructose syrup (42% fructose dry basis), glucose syrup (40 dextrose equivalent)) on the gel formation, gel strength and the taste acceptance of high methoxy pectin. Firstly, the effects of pH, TSS and types of sugar on the gel formation were studied at pH 2.0, 2.5, 3.0, 3.5 and TSS 50, 60, 70, 80°Brix. It was found that gel were formed at pH 2.0-2.5, 50-70°Brix and pH 2.5-3.0, 60-70°Brix for sucrose, pH 2.0-3.0, 50-60°Brix and pH 3.0-3.5, 70 °Brix for fructose syrup and pH 2.0-2.5, 50°Brix, pH 2.5-3.0, 50-60°Brix for glucose syrup. Secondly, the effects of pH, TSS and the types of sugar on gel strength by measuring modulus and firmness were studied. It was found that gel strength of fructose syrup decreased with increasing TSS and pH had only a slight effect. Increasing pH at high TSS (>66°Brix) increased the gel strength slightly and decreased at lower TSS (50-65°Brix). Gel strenth of glucose syrup was found to decrease with increasing TSS (50-60°Brix) and/or increasing pH. TSS affected gel strength more than pH in both types of sugar. The highest gel strength of fructose syrup was higher than that of glucose syrup. For sucrose, it was found with regression analysis that R2 was very low (<0.4), therefore, it was not included in further studying. Thirdly, the taste acceptances of jellies from fructose syrup and glucose syrup at high level of gel strength taken from response surface methodology model were studied. It was found that fructose syrup jelly at 50.80°Brix, pH 2.2 and glucose syrup jelly at 50.60°Brix, pH 2.52 were most acceptable. At the same level of gel strength, panelists accepted fructose syrup jellies greater than glucose syrup jellies. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เยลลี | en_US |
dc.subject | เพกติน | en_US |
dc.subject | เจลาติน | en_US |
dc.title | ผลของ pH ความเข้มข้นและชนิดน้ำตาลต่อความแข็งแรงของเจลเพกตินชนิดเมทอกซีสูง | en_US |
dc.title.alternative | Effect of pH, concentration and types of sugar on strength of high methoxy pectin gel | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีทางอาหาร | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Patcharee.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Urairat_bu_front_p.pdf | 988.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Urairat_bu_ch1_p.pdf | 668.82 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Urairat_bu_ch2_p.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Urairat_bu_ch3_p.pdf | 1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Urairat_bu_ch4_p.pdf | 2.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Urairat_bu_ch5_p.pdf | 673.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Urairat_bu_back_p.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.