Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพันธิพา จันทวัฒน์-
dc.contributor.advisorนินนาท ชินประหัษฐ์-
dc.contributor.authorอุบลรัตน์ สิริภัทราวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-21T02:56:29Z-
dc.date.available2021-06-21T02:56:29Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73905-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของโปรตีนถั่วเขียวต่อกรดเกลือเข้มข้น 6 โมลาร์ โดยแปรอัตราส่วนเป็น 1:2, 1:3, 1:4, 1:5, 1:6 และ 1:7 (นน.:ปริมาตร) ย่อยที่อุณหภูมิ 120 °ซ นาน 2 ชม. ต่อการศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการย่อยสลายโปรตีนถั่วเขียว โดยแปรความเข้มข้นของกรดเกลือเป็น 4 และ 6 โมลาร์ แปรอุณหภูมิเป็น 120 และ 130° ซ และแปรเวลาเป็น 2,4 และ 6 ชั่วโมง พบว่า ภาวะที่เหมาะสมในการย่อยสลาย คือ อัตราส่วนโปรตีนถั่วเขียวต่อกรดเกลือ 1:3 ใช้กรดเกลือเข้มข้น 6 โมลาร์ อุณหภูมิ 120 °ซ เวลา 6 ชม. ขั้นต่อมาศึกษาภาวะที่เหมาะสมในการกำจัดกลิ่นแปลกปลอมใน HVP ด้วยแอคทีฟคาร์บอนร้อยละ 0.1, 0.5 และ 1.0 (นน. : ปริมาตร) แปรอุณหภูมิเป็น 50 และ 60°ซ และแปรเวลาเป็น 30 และ 60 นาที พบว่า ภาวะที่เหมาะสมในการกำจัดกลิ่นแปลกปลอม คือ แอคทีฟคาร์บอนร้อยละ 0.5 อุณหภูมิ 50 °ซ เวลา 30 นาที ต่อมาศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการทำ HVP ให้เข้มข้นร้อยละ 60 โดยน้ำหนัก โดยใช้เครื่อง rotary vacuum evaporator ที่ความเร็วรอบ 240 รอบต่อนาที ความดันที่ภาวะสุญญากาศ 26 นิ้วปรอท แปรอุณหภูมิระหว่างการระเหยเป็น 50, 60, 70 และ 80 °ซ พบว่าอุณหภูมิ 80 °ซ ใช้เวลาสั้นที่สุดในการระเหยน้ำถึงระดับที่ต้องการ ส่วนการผลิต HVP ผง ด้วยเครื่อง spray dryer ใช้อุณหภูมิลมร้อน 180 °ซ อุณหภูมิลมออก 100 °ซ ความดันลม 30 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ต่อมศึกษาการใช้ HVP ผงที่ผลิตได้และ HPP:FC-01®เป็นสารปรุงแต่งกลิ่นรสในซุปผัก พบว่าปริมาณเหมาะสมสำหรับแต่ละชนิด ได้แก่ร้อยละ 1.5, 0.75 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ ซุปผักที่เติม HVP เข้มข้น และ HVP ผง มีคะแนนความชอบด้านกลิ่นรสไม่แตกต่างกัน (p≥ 0.05) ซุปผักที่เติม HPP :FC-01® ไม่แตกต่างจากซุปผักที่เติม HVP เข้มข้น แต่คะแนนสูงกว่าซุปผักที่เติม HVP ผง (p≤ 0.05)-
dc.description.budgetAppropriate quantity of 6 M. HCI for the hydrolysis of mungbean protein was selected by varying the protein-acid ratio at 1:2, 1:3, 1:4, 1:5, 1:6 and 1:7 (w/w), and hydrolyzing at 120°C for 2 hours. Optimal condition for the hydrolysis of mungbean protein was studied by varying the concentration of HCI at 4 and 6 M.; the temperature at 120 and 130°C and the reaction time at 2, 4 and 6 hours. Results showed that the best quality product was obtained when using protein: HCI 1:3, 6 M.HCI, at 120°C for 6 hours. The odor of the resulting HVP was further improved by using active carbon as adsorbent at 0.1, 0.5 and reaction was carried out at 50 and 60 C for 30 and 60 minutes. The most appropriate condition found was 0.5% active carbon, 50°C and 30 minutes. Concentrating of the HVP to 60% solid content was carried out on a rotary vacuum evaporator at 240 rpm, 26 in. Hg vacuum pressure and the varying temperature of 50, 60, 70 and 80°C. Results showed That the good quality product and the shortest concentrating time could be obtained at 80°C. Powdered HVP was produced by spray drying using inlet air temperature at 180ºC, outlet air temperature at 100ºC and feed pressure 30 lb/in². Quality of the concentrate, powder and the HPP: FC-01® as food flavor in vegetable soup was compared. At the optimal concentration of 1.5%, 0.75% for the concentrate, the powder and the HPP:FC-01® respectively, vegetable soup containing the concentrate was not different in flavor from that contained the powder (p≥ 0.05). Sample with HPP:FC-01®was comparable in flavor to that containing the concentrate but both were better than the sample fortified with the HVP powder.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโปรตีนเกษตรen_US
dc.subjectโปรตีนเกษตร -- การผลิตen_US
dc.subjectTextured soy proteinsen_US
dc.titleการผลิตไฮโดรไลซ์เวเจตเทเบิ้ลโปรตีนจากโปรตีนถั่วเขียว เพื่อใช้เป็นสารปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารen_US
dc.title.alternativeProduction of hydrolysed vegetable protein from mungbean protein for food flavoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ubonrat_si_front_p.pdf977.58 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_si_ch1_p.pdf678.15 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_si_ch2_p.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_si_ch3_p.pdf886.92 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_si_ch4_p.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_si_ch5_p.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_si_ch6_p.pdf655.79 kBAdobe PDFView/Open
Ubonrat_si_back_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.