Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74399
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแรมสมร อยู่สถาพร-
dc.contributor.authorภัสสรา อินทรคำแหง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-08T03:28:01Z-
dc.date.available2021-07-08T03:28:01Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.isbn9745760773-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74399-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษามโนทัศน์ทางจริยธรรมตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ในนิทานพื้นบ้านของจังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. มโนทัศน์ทางจริยธรรมตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ในนิทานพื้นบ้านของจังหวัดนครราชสีมา ที่พบมากที่สุด คือ ผู้ที่รู้จักให้และรู้จักรับ เป็นผู้มีน้ำใจ 2. มโนทัศน์ทางจริยธรรมตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ในนิทานพื้นบ้านของจังหวัดนครราชสีมา ที่พบมากที่สุด จำแนกตามประเภทของนิทานพื้นบ้านแต่ละประเภท ได้แก่ 2.1 ในนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานปรัมปรา คือ ความกตัญญูกตเวที เป็นสิ่งที่ควรส่งเสริมในสังคมทุกยุคทุกสมัยอย่างสม่ำเสมอ 2.2 ในนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานท้องถิ่น คือความมีเหตุผลช่วยให้ตัดสินใจได้ถูกต้องและยุติธรรม 2.3 ในนิทานพื้นบ้านประเภทเทพนิยาย คือผู้ที่รู้จักให้และรู้จักรับ เป็นผู้มีน้ำใจ 2.4 ในนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานเรื่องสัตวคือ ความมีเหตุผล ช่วยให้ตัดสินใจได้ถูกต้อง และยุติธรรม 2.5 ในนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานตลกขบขัน คือ ผู้ที่รู้จักให้และรู้จักรับ เป็นผู้มีน้ำใจ 3. ในด้านหัวข้อจริยธรรมตามหสักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านของจังหวัดนครราชสีมา ที่พบมากที่สุดคือความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ 4. หัวข้อจริยธรรมตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านของจังหวัดนครราชสีมา ที่พบมากที่สุด จำแนกตามประเภทของนิทานพื้นบ้าน ได้แก่ 4 1 ในนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานปรัมปรา คือ ความเมตตากรุณา 4.2 ในนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานท้องถิ่น คือ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ 4.3 ในนิทานพื้นบ้านประเภทเทพนิยาย คือ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ 4.4 ในนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานเรื่องสัตว์ คือ ความเป็นผู้มีเหตุผลและความกตัญญูกตเวที 4.5 ในนิทานคนบ้านประเภทนิทานตลกขบขัน คือ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ 5. นิทานพื้นบ้านของจังหวัดนครราชสีมา ที่ปรากฎมโนทัศน์ทางจริยธรรมตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 มากที่สุด จำแนกตามประเภทของนิทานพื้นบ้านมีดังนี้ 5.1 นิทานพื้นบ้านประเภทนิทานปรัมปรา คือ เรื่องพระนาวัน 5.2 นิทานพื้นบ้านประเภทนิทานท้องถิ่น คือ เรื่องผู้บำเพ็ญประโยชน์ 5.3 นิทานพื้นบ้านประเภทเทพนิยาย คือ เรื่องเจ้ายอดทอง 5.4 นิทานพื้นบ้านประเภทนิทานเรื่องสัตว์ คือ เรื่องแม่หมานิล 5.5 นิทานพื้นบ้านประเภทนิทานตลกขบขัน คือ เรื่องหูแช อาจารย์ทองอยากดังและลูกศิษย์หลวงพ่อ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to study moral concepts according to the Elementary Curriculum B.E. 2521 in the folktales of Changwat Nakhon Ratchasima. The research findings were as follow: 1. The moral concept found most in the folktales of Changwat Nakhon Ratchasima was the one who gives and takes is kind person. 2. The moral concepts found most in each type of folktales were as follow: 2.1 In the fairy tale: gratefulness should be continually promoted in the society of every generation; 2.2 in the legend: rationalization helps making decisions precise and fair; 2.3 in the myth: the one who gives and takes is a kind person; 2.4 in the animal tale: rationalization helps making decisions precise and fair; and 2.5 in the jest: the one who gives and takes is a kind person. 3. The moral aspects found most was hospitality and sacrifice. 4. The moral aspects found most in each type of folktales were as follow: 4.1 In the fairy tale: kindness; 4.2 in the legend: hospitality and sacrifice; 4.3 in the myth: hospitality and sacrifice; 4.4 in the animal tale: rationalization, and gratefulness; and 4.5 in the jest: hospitality and sacrifice. 5. The names of the folktales which remarkably gave moral concepts 5.1 In the to the listeners in each type of the folktales were as follow: 5.1 In the fairy tale: Pra Nawan; 5.2 in the legend: Pu Bumpen Prayode; 5.3 in the myth: Chao Yodtong; 5.4 in the animal tale: Mae Ma Nin; 5.5 in the jest: Hu Chae, Acharn Tong Yak Dung and Looksid Luang Poh.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวรรณกรรมพื้นบ้านไทยen_US
dc.subjectนิทานพื้นเมืองไทย -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectศีลธรรมจรรยา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en_US
dc.subjectความคิดรวบยอดen_US
dc.subjectFolk literature, Thaien_US
dc.subjectFolk literature, Thai -- Thailand -- Nakhon Ratchasimaen_US
dc.subjectConceptsen_US
dc.titleการศึกษามโนทัศน์ทางจริยธรรม ตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ในนิทานพื้นบ้านของจังหวัดนครราชสีมาen_US
dc.title.alternativeStudy of moral concepts according to the elementary curriculum B.E.2521 in the folktales of Changwat Nakhon Ratchasimaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRamsamorn.y@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Passara_in_front_p.pdf909.18 kBAdobe PDFView/Open
Passara_in_ch1_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Passara_in_ch2_p.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open
Passara_in_ch3_p.pdf844.08 kBAdobe PDFView/Open
Passara_in_ch4_p.pdf4.57 MBAdobe PDFView/Open
Passara_in_ch5_p.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Passara_in_back_p.pdf15.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.