Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75633
Title: | การวิเคราะห์รูปแบบทางพันธุกรรมของหมู่เลือด MNS hybrid glycophorin (B-A-B) ในผู้บริจาคโลหิตคนไทย โดยใช้เทคนิค High Resolution Melting Assay |
Other Titles: | Genotyping analysis of new MNS hybrid glycophorins GYP*(B-A-B) in the Thai blood donors using high resolution melting assay |
Authors: | พลอยมณี สุวรรณวุฒิชัย |
Advisors: | ภัทริน ตั้งธนตระกูล ทัศนีย์ สกุลดำรงค์พานิช |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์ |
Issue Date: | 2563 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ในปี 2018 มีการค้นพบ hybrid GP(B-A-B) ชนิดใหม่ซึ่งเกิดจากจีโนไทป์ แบบ homozygous GYP*Mur สร้างเป็นแอนติเจนใหม่เรียก JENU ลบ ในประชากรชาวไทย ดังนั้นเพื่อศึกษาความถี่ของจีโนไทป์แบบ hydrid GYP*Mur และ hybrid GYP ชนิดอื่นๆ ผู้วิจัยอาศัยเทคนิค Polymerase chain reaction High-Resolution Melting (PCR HRM) ตัวอย่างดีเอ็นเอที่สกัดได้จากผู้บริจาคโลหิตชาวไทย จำนวน 60 ราย ที่ให้ผลตรวจแอนติเจน s เป็นลบปลอมกับน้ำยา monoclonal IgM clone P3BER ผลค่า melting temperature จากตัวอย่างพีซีอาร์ที่ได้จะนำมาเปรียบเทียบกับตัวอย่าง homozygous GYP*Mur การหาลำดับเบสใช้ในตัวอย่างที่เป็น non-homozygous GYP*Mur ทุกตัวอย่าง จากผลการทดลอง พบว่า ผู้บริจาคโลหิตจำนวน 49 รายเป็น homozygous GYP*Mur (Tm เฉลี่ย 79.63±0.03, 90% Cl =79.337-81.302 ) และ อีก 11 รายเป็น non-homozygous GYP*Mur เมื่อเปรียบเทียบลำดับเบสของตัวอย่างดังกล่าวกับฐานข้อมูล พบว่า ตัวอย่างพบว่า 4 รายเป็น heterozygous GYP*Mur/Bun, 2 ราย เป็น homozygous GYP*Bun และ 5 ราย เป็น heterozygous GYP*BS/GYP*Bun สรุปผลการศึกษาครั้งนี้ คือ ความถี่ของแอนติเจน JENU ลบ คิดเป็นร้อยละ 0.65 ของประชากรชาวไทย โดยเทคนิค PCR HRM สามารถนำไปใช้ในงานประจำวันทางธนาคารเลือดได้จริง |
Other Abstract: | Recently, a novel hybrid MNS GP(B-A-B) called JENU – antigen (homozygous GYP*Mur) was discovered in Thai population. By using polymerase chain reaction (PCR) high-resolution melting (HRM), our study aims to investigate the prevalence of homozygous GYP*Mur and other hybrid GYP*(B-A-B) in Thai blood donors. The DNA were extracted from 60 blood donor samples which gave false negative with monoclonal anti-s IgM clone P3BER. Melting temperature (Tm) of PCR products were compared with known (homozygous GYP*Mur) using 90% confident interval (CI). Sanger sequencing is used to confirm all samples of non-homozygous GYP*Mur. Result found that 49 of 60 samples were homozygous GYP*Mur while 11 samples were non-homozygous GYP*Mur. Interestingly, 4 of 11 samples were heterozygous GYP*Mur/Bu, whereas 2 samples are homozygous GYP*Bun. Five samples are heterozygous GYP*BS/GYP*Bun. In conclusion, prevalent of homozygous GYP*Mur (JENU-) in Thai blood donors was 0.65%. The PCR HRM assay could be used to identify GYP*Mur homozygous and screen for other hybrid GYP*(B-A-B) variants. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลทางจุลชีววิทยาทางการแพทย์และวิทยาภูมิคุ้มกัน |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75633 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.1043 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2020.1043 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | All - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6270008237.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.