Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77333
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุญาณี พงษ์ธนานิกร-
dc.contributor.authorสุนิษา ฤกษ์ชัย-
dc.contributor.otherคณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-09-27T09:18:26Z-
dc.date.available2021-09-27T09:18:26Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.otherSepr 13/57 ค1.31-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77333-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาเภสัชศาสตร์บัณฑิต สาขาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแม่นยำของ สมการที่ใช้ทำนายกลุ่มอาการเมแทบอลิก (metabolic syndrome ) ที่เน้นเรื่องแบบแผนการบริ โภคอาหาร และเพื่อหาความชุกของการเกิดกลุ่มอาการเมแทบอลิกของประชากรวัยทำงานในเขตเมือง กลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไปที่เข้ารับการตรวจสุขภาพประจำปี 2555 จำนวน 133 คน (ชาย 29 คน และหญิง 104 คน) การวินิจฉัยกลุ่มอาการเมแทบอลิกใช้เกณฑ์ของ NCEP A TP II เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการบริ โภค รอบเอว ความดัน โลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือดผลการศึกษาพบความชุกของกลุ่มอาการเมเทบอลิก ร้อยละ 19.5 (เพศชาย ร้อยละ 27.6 และเพศหญิง ร้อยละ 17.3) เมื่อเปรียบเทียบกับสมการทำนายที่ใช้ข้อมูลตัวแปรหลักคือ พฤติกรรมการบริ โภคอาหารมื้อดึก ผลิตภัณฑ์เบเกอรี่และ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พบว่าสมการมีความแม่นยำร้อยละ 80.5 โดยพบผลลบลวงร้อยละ 18.8 ผลบวกลวงร้อยละ 0.7 ดังนั้นสมการที่ใช้ทำนายความน่าจะเป็นในการเกิดกลุ่มอาการเมแทบอลิกที่เน้นเรื่องแบบแผนการบริ โภคอาหารอาจนำมาใช้เป็นเครื่องมือเบื้องต้นในการคัดกรองการเป็นกลุ่มอาการเมเทบอลิกได้ อย่างไรก็ตามในบางรายอาจต้องมีการตรวจทางคลินิกเพื่อยืนยันผลการเป็นกลุ่มอาการเมแทบอลิกที่แน่ชัดร่วมด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional descriptive study aimed to examine the accuracy of the equation, which is using dietary pattern in the prediction of metabolic syndrome and the prevalence of metabolic syndrome among the working-age population in urban area. The samples were Chulalongkorn university's staff aged 20 years and over who received the annual health examination in 2012. There were 133 people who joined this study (29 males and 104 females). The diagnosis of metabolic syndrome was defined by the NCEP ATP III using the information collected by questionnaires. The results showed that the prevalence of metabolic syndrome defined by the NCEP ATP III was 19.5% (27.6% in males and 17.3% in females). The predict equation for metabolic syndrome in this study focused on three patterns of dietary intake including late night meal intake, bakery product intake and alcohol consumption. It was found that the accuracy of the equation was 80.5%. Therefore, the equation could be used in metabolic syndrome screening but the confirmatory is still needed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectMetabolic syndromeen_US
dc.subjectเมทาบอลิกซินโดรมen_US
dc.titleความแม่นยำของสมการที่ใช้ทำนายกลุ่มอาการเมแทบอลิกในกลุ่มประชากร วัยทำงาน ในเขตเมืองen_US
dc.title.alternativeAccuracy of the equation in prediction of metabolic syndrome among working-age population in urban areaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsuyanee.p@chula.ac.th-
dc.subject.keywordเมแทบอลิกen_US
dc.subject.keywordmetabolicen_US
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pharm_SeniorProject_1.311_2557 .pdfไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.