Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์-
dc.contributor.authorฐนิตา สุวรรณกิตติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-01-27T10:10:21Z-
dc.date.available2022-01-27T10:10:21Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78040-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงความต้องการล่าม ประเด็นปัญหาที่ล่ามประสบ ในขณะทำงานและการประเมินผลของล่ามในงานสาธารณสุขไทย โดยเลือกกรณีศึกษาใน โรงพยาบาลสามแห่ง อันได้แก่ โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลพญาไท ๒ และโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ผู้วิจัยได้ทำการสัมภาษณ์ผู้จ้างล่าม ๓ คนจากทั้ง ๓ โรงพยาบาลและสัมภาษณ์ล่าม ประจำในโรงพยาบาล ๘ คน จากทั้ง ๓ โรงพยาบาล ทั้งที่เป็นชาวไทยและชาวต่างประเทศ จากการศึกษาพบว่า ภาษาอารบิคเป็นภาษาที่มีความต้องการมากที่สุด ตามด้วย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกลาง และภาษาพม่า ล่ามควรที่จะต้องมีความรู้พื้นฐานด้าน การรักษาพยาบาลบ้างเพื่อให้สะดวกต่อการทำงานทั้งของล่ามเองและของแพทย์ ปัญหาส่วน ใหญ่ที่ล่ามประสบคือ เรื่องของอารมณ์ที่ไม่คงที่ของผู้ป่วย ซึ่งล่ามจะต้องใจเย็นและอธิบายถึงสิ่งต่างๆให้แก่ผู้ป่วยและญาติได้เข้าใจ วัฒนธรรมก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ล่ามต้องระมัดระวังเพราะถือ เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมาก เช่น การพูดคุยกับเพศตรงข้ามในบางประเทศ หรือบางศาสนา ซึ่งล่ามจะต้องเรียนรู้และตามการพัฒนาของวัฒนธรรมให้ทันอยู่เสมอ ล่ามยังต้องคอยประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการทำงานของตนเอง ทั้งในเรื่องของภาษาและเรื่องของการบริการผู้ป่วยen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the interpretation demand, problems which interpreters encounter in their work, and assessment of the interpreters in the healthcare services in Thailand. This research was conducted a case study in three private hospitals namely Bangkok Hospital, Phyathai Hospital and Bumrungrad Hospital. Three interpreter recruiters and eight interpreters, both foreign and Thai were interviewed. The findings indicate that Arabic is the most needed language, followed by Japanese, English, Mandarin Chinese and Burmese. Interpreters should have some basic knowledge of health service to facilitate their work. The problems which interpreters often encounter are emotion instability of the patients and cultural differences. Interpreters should be patient and culturally sensitive. Assessment is another important issue to improve the work quality of the interpreters both in language skills and service to the patienten_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2139-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักแปล -- ไทยen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการแพทย์ -- ไทยen_US
dc.subjectการแปลและการตีความ -- ไทยen_US
dc.subjectการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม -- ไทยen_US
dc.subjectTranslators -- Thailanden_US
dc.subjectTranslating and interpreting -- Thailanden_US
dc.subjectCommunication in medicine -- Thailanden_US
dc.subjectIntercultural communication -- Thailanden_US
dc.titleความต้องการล่ามในงานสาธารณสุขไทย : กรณีศึกษาโรงพยาบาลเอกชน 3 แห่งในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeInterpretation demand in Thai healthcare service : a case study of three private hospitals in Bangkoken_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการแปลและการล่ามen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNunghatai.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2139-
Appears in Collections:Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanita Su_tran_2008.pdf977.34 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.