Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78072
Title: | Identification of Crude Palm Oils by the Analyses of Fatty Acids, Volatile Organic Compounds, and Carotenoids |
Other Titles: | การบ่งชี้เอกลักษณ์ของน้ำมันปาล์มดิบด้วยการวิเคราะห์กรดไขมัน กลุ่มสารประกอบอินทรีย์ระเหยและแคโรทีนอยด์ |
Authors: | Somluk Sanorkham |
Advisors: | Siriporn Jongpatiwut |
Other author: | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
Subjects: | Palm oil -- Analysis Fatty acids -- Analysis Volatile organic compounds Carotenoids น้ำมันปาล์ม -- การวิเคราะห์ กรดไขมัน -- การวิเคราะห์ สารประกอบอินทรีย์ระเหย แคโรทีนอยด์ |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | An in-depth analysis of crude palm oil is important to differentiate crude palm oil (CPO) from different geographic provenance for administrative control purposes to prevent and solve the problem of smuggling CPO from abroad to Thailand. In this study, eleven CPO samples from five provinces in Thailand were studied for their composition. The compositions of fatty acids, volatile organic compounds (VOCs), and carotenoids were characterized by GC-FID, GC-MS, and HPLC-DAD techniques, respectively. The chromatograms of fatty acids distribution were similar for all samples. The main components of fatty acids are palmitic acid, oleic acid, linoleic acid, and stearic acid. In the study of volatile organic compounds, it was found that volatile organic compounds chromatograms of different CPO were similar. Moreover, the chromatograms of the carotenoids were similar in all CPO samples. The alpha to beta-carotenes ratios were in the range of 0.70 to 0.91 with ±0.02 of the tolerance. This ratio can be considered as a characteristic of a CPO. However, the ratios of CPOs from some sources were similar. Hence, more CPO samples with specified species, locations, and seasons must be further investigated to develop the identification of CPO. |
Other Abstract: | การวิเคราะห์เชิงลึกของน้ำมันปาล์มดิบมีความสำคัญต่อการแยกความแตกต่างของน้ำมันปาล์มดิบจากแหล่งทาง ภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการควบคุมการบริหารเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการลักลอบนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบ จากต่างประเทศมายังประเทศไทย ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาน้ำมันปาล์มดิบจำนวน 11 ตัวอย่างจาก 5 จังหวัดในประเทศไทย ด้วย การศึกษาองค์ประกอบของกรดไขมัน สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย และแคโรทีนอยด์ด้วยเทคนิค GC-FID, GC-MS และ HPLC-DAD ตามลำดับ จากการศึกษาพบว่า ตัวอย่างของน้ำมันปาล์มดิบในงานวิจัยนี้มีโครมาโตแกรมของกรดไขมันที่เหมือนกัน ซึ่งองค์ประกอบหลักของกรดไขมันคือกรดปาล์มมิติก กรดโอเลอิค กรดลิโนเลอิคและกรดสเตียริค รวมถึงองค์ประกอบของกรดไขมันส่วนน้อยนั้นพบในปริมาณที่ใกล้เคียงกันมากในทุกตัวอย่างน้ำมันปาล์มดิบ ในการศึกษาองค์ประกอบของสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายพบว่า สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายของน้ำมันปาล์มดิบที่ต่างกันมีโครมาโตแกรมที่เหมือนกัน ในการศึกษาแคโรทีนอยด์ในน้ำมันปาล์มดิบ พบว่า โครมาโตแกรมของแคโรทีนอยด์มีความคล้ายคลึงกันมากในทุกตัวอย่างน้ำมันปาล์มดิบ โดยมีอัตราส่วนของแอลฟ่าต่อเบต้าแคโรทีนอยู่ในช่วง 0.70-0.91 และมีค่าความคลาดเคลื่อน ±0.02 ซึ่งมีความเสถียรที่สูงและมีศักยภาพในการนำไปใช้บ่งชี้ชนิดของน้ำมันปาล์มดิบ อย่างไรก็ดีอัตราส่วนนี้ของน้ำมันปาล์มดิบที่มาจากแหล่งต่างกันมีค่าใกล้เคียงกัน ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาตัวอย่างน้ำมันปาล์มดิบที่ระบุสายพันธุ์ แหล่งที่มาและฤดูกาลเพิ่มเติม เพื่อยืนยันในการบ่งชี้ความแตกต่างของน้ำมันปาล์มดิบจากแหล่งที่ต่างกัน |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petrochemical Technology |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78072 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.357 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2020.357 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pet_Somluk_San_6271007063_2020.pdf | 49.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.