Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวิธิดา จรุงเกียรติกุล-
dc.contributor.authorวรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา-
dc.contributor.authorมนัสวาสน์ โกวิทยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-02-17T10:11:44Z-
dc.date.available2022-02-17T10:11:44Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78080-
dc.descriptionแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษตลอดชีวิต -- การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 -- การจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในยุค Thailand4.0 -- แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะการเรียนรู้ -- การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา -- ข้อมูลพื้นฐานของหลักสูตรสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การศึกษาสมรรถนะที่จำเป็นเพื่อการทำงานที่ผู้ใช้บัณฑิตต้องการจากนิสิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะที่จำเป็นเพื่อการทำงานที่ผู้ใช้บัณฑิตต้องการจากนิสิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน และ 2) นำเสนอแนวทางการพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน มีการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสมรรถนะที่จำเป็นเพื่อการทำงานที่ผู้ใช้บัณฑิตต้องการจากนิสิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน มีสมรรถนะหลัก ได้แก่ ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะส่วนบุคคล และสมรรถนะเพื่อการทำงาน ได้แก่ ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ 2. ผลการนำเสนอแนวทางการพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียนมี 4 แนวทางหลัก ประกอบด้วย แนวทางที่ 1 แนวทางด้านการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการศึกษา แนวทางที่ 2 แนวทางด้านองค์ความรู้และกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน แนวทางที่ 3 แนวทางด้านระบบสนับสนุนการเรียนรู้ และแนวทางที่ 4 แนวทางด้านการประกันคุณภาพความสำเร็จในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นประโยชน์กับหน่วยงาน องค์กร และสถานศึกษา ตลอดจนผู้ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาตลอดชีวิตสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร การวางแผนกิจกรรมการเรียนรู้ และการพัฒนาผู้เรียนที่มีคุณภาพต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThis study on the necessary competencies for work required by graduate users from students who have completed non formal education progeam aims to 1) study the necessary competencies for work required by graduate users from students who have graduated in non school education program; and 2)propose guidelines for the development of learners in non formal education program. The data were collected using both quantitative and qualitative ways. The results were found that: 1. The result of the competencies comprised of two main competencies: (1) the corecompetencies include knowledge, skills, personal attributes; and (2) the competencies for work, including knowledge, skills, attributes used in the working performances. 2. The result of the proposed guidelines for the development of learners in non formal education program include 4 main guidelines: (1) curriculum development or improvement and educational management; (2) knowledge and learner development activities; (3) learning support system; and (5) quality assurance and learning success. The findings will be beneficial to departments, organizations and educational institutions, as well as those working in the provision of education to apply these guidelines for curriculum development, learning activities planning, and for further development of quality of all learners.en_US
dc.description.sponsorshipสนับสนุนโดย เงินทุนเพื่อการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร์ ปี 2561en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- ศิษย์เก่าen_US
dc.subjectสมรรถนะen_US
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานen_US
dc.titleการศึกษาสมรรถนะที่จำเป็นเพื่อการทำงานที่ผู้ใช้บัณฑิตต้องการจากนิสิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suvitida_Ja_Res_2561.pdfรายงานวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)1.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.