Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78960
Title: | การแปลบทบรรยายใต้ภาพสำหรับภาพยนต์สารคดีเรื่อง Word is Out : Stories of Some of Our Lives |
Other Titles: | Interligual subtitling in documentary film : a translation of Word is Out : Stories of Some of Our Lives |
Authors: | ชื่นสุมน ธรรมนิตยกุล |
Advisors: | สารภี แกสตัน |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | ภาษาอังกฤษ -- การแปล English language -- Translation Subtitles (Motion pictures, television, etc.) |
Issue Date: | 2555 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | สารนิพนธ์ฉบับนี้แสวงหาแนวทางการแปลบทบรรยายใต้ภาพสำหรับภาพยนตร์สารคดีที่มีประเด็นปัญหาเรื่องการแปลสรรพนามบุรุษที่ 1 อันเนื่องมาจากผู้ให้สัมภาษณ์จำนวน 24 คนที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยศึกษาจากภาพยนตร์เรื่อง Word is out: Stories of Some of Our Lives และแปลบทบรรยายใต้ภาพเป็นภาษาไทย ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาทฤษฎีและแนวทางการแปลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แนวทางการแบ่งประเภทของตัวบทของ แคทธารีนา ไร้ส์ แนวทางการวิเคราะห์ ตัวบทของคริสติอาเน่ นอร์ด แนวทางการแปลแบบตีความของฌอง เดอลีลส์ และแนวทางการแปล บทบรรยายใต้ภาพ นอกจากนี้ได้ศึกษาแนวคิดเรื่องสรรพนามบุรุษที่1 และคำลงท้ายของภาษาอังกฤษ และภาษาไทย รวมทั้งแนวคิดเรื่องเพศสภาพและพฤติกรรมรักร่วมเพศ และจากการศึกษาวิจัยพบว่า แนวทางที่กล่าวมาเบื้องต้นช่วยในการทำความเข้าใจตัวบท และถ่ายทอดความหมาย ตลอดจนแก้ไข ปัญหาการแปลสรรพนามบุรุษที่1 อันเป็นประเด็นหลักของการวิจัยได้ ซึ่งตรงกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ |
Other Abstract: | This research aims at discovering an appropriate method in translating a documentary flm in the aspect of first person personal pronouns due to gender diversity of 24 subjects of the film. The research has taken the film; Word is out: Stories of Some of Our Lives as the case study. It also aims to produce the Thai subtitles for the selected scenes of the film. Relevant translation theories, i.e. Katharina Reiss's (2000) text types, Christiane Nord's (1991) text analysis approach, Jean Delisle's (1988) interpretive approach, including audiovisual translation approach were reviewed as well as t he use of first person personal pronouns and polite final particles in English along with gender studies and homosexuality. It was found that the aforementioned approaches contribute to comprehension and reformulation of the target text. In addition, they also help cope with translating frst person personal pronouns and polite final particles used by interviewees of gender diversity. |
Description: | สารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การแปลและการล่าม |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78960 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Arts - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chuensumon Dh_tran_2012.pdf | 635.86 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.