Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78971
Title: | ข้อบกพร่องด้านภาษาที่พบในการแปลป้ายข้อมูลของพิพิธภัณฑ์และวิธีการแก้ไข : กรณีศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) |
Other Titles: | Linguistic errors in museum translation and the editing approach : the case of the Science Center for Education (Bangkok Planetarium) |
Authors: | กุลธิดา บุญญวนิช |
Advisors: | แพร จิตติพลังศรี สมจิต จิระนันทิพร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
Advisor's Email: | phrae.c@chula.ac.th Somjit.J@Chula.ac.th |
Subjects: | ป้ายสัญลักษณ์ -- การแปล ภาษาอังกฤษ -- การแปล การแปลและการตีความ Signs and signboards -- Translations English language -- Translations Translating and interpreting |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาข้อบกพร่องที่พบในการแปลป้ายข้อมูลของพิพิธภัณฑ์และวิธีการแก้ไข โดยคัดสรรบทแปลจากป้ายข้อมูลนิทรรศการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) เพื่อให้ได้บทแปลที่สามารถใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ มีอรรถสาระและเนื้อหาเหมาะสมกับผู้รับสารปลายทาง ผู้ศึกษาได้ดำเนินการวิจัยโดยค้นคว้าแนวคิดเกี่ยวกับการแปลตัวบทพิพิธภัณฑ์ (Guillot, 2014; Neather, 2005; Sturge, 2007) แนวทางการวิเคราะห์ตัวบทประเภทสารคดีของคริสติอาเน นอร์ด (2005) แนวคิดการจำแนกหมวดหมู่ของข้อบกพร่องในการแปลโดยคริสติอาเน นอร์ด (1997) กลวิธีการแก้ไขงานแปลที่เกี่ยวข้อง (วัลยา วิวัฒน์ศร, 2547; มกุฏ อรฤดี, 2560; Mossop, 2007) ทฤษฎีสโคพอส (Skopostheorie) นำเสนอโดยฮันส์ แฟร์เมียร์ (1996) แนวคิดเรื่อง Scene-and-Frames Semantics นำเสนอโดยชาร์ลส ฟิลล์มอร์ (1977) แนวทางการแปลแบบตีความและยึดความหมาย (Interpretive Approach) นำเสนอโดยฌอง เดอลิลส์ (1988) และความรู้ว่าด้วยไวยากรณ์ที่เกี่ยวข้องกับข้อบกพร่องในการแปลที่พบ ผลการศึกษาพบว่าการนำทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ ข้างต้นมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน สามารถระบุข้อบกพร่องในบทแปลและแก้ไขข้อบกพร่องได้ |
Other Abstract: | The objective of this special research is to study errors in museum translation and devise the editing approach for the translation of the exhibitions at Science Center for Education (Bangkok Planetarium), in order to produce translation that serves its purposes and audiences. The study was conducted by investigating the following theories and concepts: the concepts on museum translation (Guillot, 2014; Neather, 2005; Sturge, 2007), Discourse Analysis (Nord, 2005), A Functional Classification of Translation Errors (Nord, 1997), the relevant translation editing approaches (Walaya Wiwatsorn, 2547; Makut Onrudee, 2560; Mossop, 2007), Skopostheorie (Vermeer, 1996), Scene-and-Frames Semantics (Filmore, 1977), Interpretive Approach (Delisle, 1988), and the relevant grammatical rules. The results show that the application of these theories and concepts can identify and solve translation errors. |
Description: | สารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การแปลและการล่าม |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78971 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2017.71 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2017.71 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Arts - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kunlatida Bo_tran_2017.pdf | 4.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.