Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79038
Title: | การแปลนวนิยายเรื่อง Beloved : ปัญหาและแนวทางการแก้ไข |
Other Titles: | Translation of Beloved : problems and solutions |
Authors: | ประภาศรี เจตทรงกุล |
Advisors: | พจี ยุวชิต |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
Advisor's Email: | Pachee.Y@Chula.ac.th |
Subjects: | มอร์ริสัน, โทนี, ค.ศ.1931- 2019 -- การแปล รรณกรรมอเมริกัน -- การแปล การแปลและการตีความ Morrison, Toni , 1931-2019 -- Translations American literature -- Translations Translating and interpreting |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | สารนิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาการแปลนวนิยายซึ่งใช้รูปแบบการนำเสนอเป็นเครื่องมือสำคัญในการถ่ายทอดสารในต้นฉบับ โดยนำนวนิยายเรื่อง Beloved มาเป็นกรณีศึกษา เพื่อแสวงหาแนวทางการแปลและวิธีการแก้ปัญหาในการแปลที่เหมาะสมกับตัวบทลักษณะดังกล่าว กรอบทฤษฎีหลักซึ่งนำมาใช้ในการศึกษาตัวบทต้นฉบับ ได้แก่ การแปลวรรณกรรมตามแนวคิดของฟอร์ตูนาโต อิสราแอล และทฤษฎีภาษาศาสตร์สังคม นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังได้นำเอาทฤษฎีการแปลพื้นฐานอื่นๆ มาประกอบการศึกษาตัวบทต้นฉบับด้วย ซึ่งได้แก่ ทฤษฎีวาทกรรมวิเคราะห์ ทฤษฎีการแปลแบบยึดความหมาย การแปลวรรณกรรมตามแนวคิดของวัลยา วิวัฒน์ศร และทฤษฎีวัจนกรรม หลังจากที่ได้นำทฤษฎีข้างต้นมาประยุกต์ใช้แล้ว พบว่า แนวทางการแปลวรรณกรรมของฟอร์ตูนาโต อิสราแอลและทฤษฎีภาษาศาสตร์สังคมสามารถนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกันในการแปลและแก้ปัญหาที่พบในตัวบทประเภทนี้ได้เป็นอย่างดี |
Other Abstract: | This special research is aimed at studying approaches most suitable for translating texts using particular forms in its presentation as well as finding solutions to relevant translation problems. Beloved, a novel by Toni Morrison, was chosen as a case study. The principal theoretical frameworks based on which the source text is analysed are Fortunato Israel’s perspective on literary translation and sociolinguistics. In addition, the researcher has also applied fundamental theories and perspectives in translation studies which include the Discourse Analysis theory, Interpretive theory, Wallaya Wiwatsorn’s perspective on literary translation and Speech Act theory in the study. Upon completing this study, it is found that Fortunato Israel’s perspective on literary translation and sociolinguistics could be well applied in translating and solving translation problems found in the texts of the above mentioned characteristics. |
Description: | สารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การแปลและการล่าม |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79038 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2017.67 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2017.67 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Arts - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prapasir Ch_tran_2006.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.