Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79192
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีราวรรณ แสงเพ็ชร์ | - |
dc.contributor.author | ภัทรชนน ศักดิ์ศิริสัมพันธ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-08T09:17:28Z | - |
dc.date.available | 2022-07-08T09:17:28Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79192 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | ไตรภูมิโลกสัณฐาน เป็นเรื่องราวที่กล่าวถึงโลกและจักรวาลตามคติพุทธศาสนา มีที่มาจากพระไตรปิฎกและคัมภีร์ฉบับต่างๆ ซึ่งแพร่หลายในประเทศที่นับถือพุทธศาสนา สำหรับงานศิลปกรรมในประเทศไทยนั้นมักปรากฏเนื้อหาในภาพจิตรกรรมซึ่งพบหลักฐานตั้งแต่ครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 22 ทั้งในรูปแบบ จิตรกรรมฝาผนังและจิตรกรรมสมุดภาพ โครงการวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์จิตรกรรมไตรภูมิโลกสัณฐาน พระวิหารวัดสุทัศน เทพวราราม กรุงทพมหานคร ซึ่งเขียนขึ้นราวครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 24 นับเป็นจิตรกรรมไตรภูมิโลกสัณฐาน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นที่มีรูปแบบเป็นเอกลักณ์เฉพาะ โดยปรับเปลี่ยนตําแหน่งจิตรกรรมจากขนบเดิมที่เขียน บนฝาผนังซึ่งเป็นมุมมองระนาบเดียวในลักษณะสองมิติ ให้กลายเป็นจิตรกรรมบนเสาพระวิหารทั้งสี่ด้าน จํานวน 4 คู่ หรือ 8 ต้น รวมเป็นภาพจิตรกรรมบนเหลี่ยมเสาทั้ง 32 เหลี่ยม ลักษณะดังกล่าวนี้ทําให้เกิดมุมมองที่ต่างระนาบในพื้นที่สามมิติ ตลอดจนมีลําดับและองค์ประกอบที่ซับซ้อนมากขึ้น จากผลการศึกษาพบว่าจิตรกรรมไตรภูมิโลกสัณฐานบนเสาพระวิหารวัดสุทัศนเทพวรารามมี ความสัมพันธ์กับจิตรกรรมต้นแบบในอดีต ได้แก่ จิตรกรรมไตรภูมิในหอพระไตรปิฎกวัดระฆังโฆษิตารามซึ่งเขียน ขึ้นในสมัยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ตอนต้น และสมุดภาพไตรภูมิฉบับต่างๆ ตั้งแต่สมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ 22-24 ทั้งในเรื่องการลําดับองค์ประกอบภาพ เนื้อหาเรื่องราว ตลอดจนรูปแบบของศิลปกรรม นอกจากนี้เนื้อหาของภาพจิตรกรรมดังกล่าวยังเชื่อมโยงกับวรรณกรรมพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎก คัมภีร์ อรรถกถา คัมภีร์หมวดโลกศาสตร์ ตลอดจนวรรณกรรมหมวดอื่นๆ เช่น วรรณกรรมบันเทิงคดี และปกรณัมนิทาน | en_US |
dc.description.abstractalternative | Tribhumi-Lokasanthana (Tiloka) is a subject of “Cosmology” according to the Buddhist scriptures, which are recognized in many Buddhist countries. In case of art in Thailand, this subject has regularly appeared in traditional mural painting and manuscript painting since around the early 17th century. This Thesis Project involves the analytical study of the Cosmology mural painting or Tribhumi-Lokasanthana in Wat Suthat Thepwararam, Bangkok, Thailand which was painted in the temple (Vihara) around the Early Rattanakosin period (Bangkok, 19thcentury). This mural painting is considered to have a unique feature by presenting on the 8 square-pillars (4 pairs of pillars with different contents in 32 sides) instead of the wall as a traditional position. This transposition considerably changes the view of painting from 2-dimensional surface to 3-dimensional space with a complex order and composition. The result of the study revealed that there is a correlation of order, composition, content, and style between the cosmology painting in Wat Suthat, the Hotrai (Buddhist library) of Wat Rakhang-Kositaram (Bangkok, before Wat Suthat), and Illustrated Manuscript of Tribhum in Ayutthaya, Thonburi, Rattanakosin period (c.17-19th century), moreover, the content in this painting is also correlated to Buddhist scripture such as Tipitaka, Attakatha, Lokasatra (Buddhist Cosmology), including other literatures and fables. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.816 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไตรภูมิ | en_US |
dc.subject | จิตรกรรมไทย | en_US |
dc.subject | จิตรกรรมฝาผนังไทย | en_US |
dc.subject | วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร | en_US |
dc.subject | Painting, Thai | en_US |
dc.subject | Mural painting and decoration, Thai | en_US |
dc.subject | Wat Suthat Thepwararam | en_US |
dc.title | จิตรกรรมไตรภูมิโลกสัณฐาน วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร | en_US |
dc.title.alternative | Cosmology system of the mural painting in Wat Suthat Thepwararamratchaworamahawihan | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ทัศนศิลป์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2019.816 | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6186724735.pdf | ไฟล์วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (Full-text) | 24.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.