Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79259
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิโรจน์ อรุณมานะกุล-
dc.contributor.authorกิตติวรรณ ซิมตระการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-14T11:11:26Z-
dc.date.available2022-07-14T11:11:26Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79259-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระเบียบวิธีการประมวลศัพท์ตามทฤษฏีทางศัพทวิทยา และจัดประมวลศัพท์เรื่องการจัดการความปลอดภัยของข้อมูลซึ่งประกอบไปด้วยชุดคำศัพท์ที่พบบ่อยในนโยบายการจัดการรักษาความปลอดภัยที่องค์กรต่าง ๆ ใช้ ประมวลศัพท์เรื่องการจัดการความปลอดภัยของข้อมูลนี้สามารถนำไปเป็นเอกสารอ้างอิงสำหรับนักแปลและผู้สนใจทั่วไป ในการประมวลศัพท์ครั้งนี้ ผู้จัดทำได้นำทฤษฎีและแนวทางในการจัดทำประมวลศัพท์ที่นักศัพทวิทยาได้เสนอไว้ โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น 7 ขั้นตอน คือ (1) การกำหนดผู้เชี่ยวชาญ (2) การรวบรวมข้อมูลเพื่อสร้างคลังข้อมูลศัพท์ (3) การสร้างคลังข้อมูลภาษา (4) การวิเคราะห์ข้อมูลและเลือกชุดคำศัพท์ที่จะนำมาสร้างความสัมพันธ์มโนทัศน์ (5) การสร้างมโนทัศน์สัมพันธ์ (6) การบันทึกข้อมูลศัพท์เบื้องต้น (7) การบันทึกข้อมูลศัพท์ ประมวลศัพท์เรื่องการจัดการความปลอดภัยของข้อมูลนี้ประกอบด้วยศัพท์จำนวน 57 คำ และนำเสนอตาม กลุ่มมโนทัศน์สัมพันธ์ การนำเสนอศัพท์แต่ละคำประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ศัพท์เทียบเคียงภาษาไทย ไวยากรณ์ หมวดเรื่อง คำนิยาม บริบท ความสัมพันธ์กับศัพท์อื่น ๆ และรูปอื่น ๆ ทางภาษาศาสตร์en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this special research is to study the methodology of terminology and implement a terminology on Information Security Management. This terminology comprises of terms frequently found in organizations' security policies and is useful for translators as well as people who are interested in the field. The special research is based on the terminological methods and principles by several terminologists. The methodology of the terminology comprises of 7 steps: (1) Indication of an expert (2) Data compilation (3) Corpus building (4) Corpus Analysis and term extraction (5) Conceptual relationships (6) Extraction recording and (7) Terminology recording. The terminology on Information Security Management consists of 57 terms presented in conceptual relations, with each term contains information regarding English term(s), Thai term(s), grammatical category, subject, definition, illustration, cross-reference, and linguistic specification.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการป้องกันข้อมูล -- ศัพท์บัญญัติen_US
dc.subjectความมั่นคงในฐานข้อมูล -- ศัพท์บัญญัติen_US
dc.subjectData protection -- Terminologyen_US
dc.subjectDatabase security -- Terminologyen_US
dc.titleประมวลศัพท์เรื่องการจัดการความปลอดภัยของข้อมูลen_US
dc.title.alternativeTerminology on information security managementen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการแปลและการล่ามen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWirote.A@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kittiwan Si_tran_2007.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.