Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80305
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์ | - |
dc.contributor.author | สิตาภัค ประถมกรึก | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-23T05:37:12Z | - |
dc.date.available | 2022-07-23T05:37:12Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80305 | - |
dc.description | สารนิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความเชื่อมั่นของพนักงานบริษัทการบินไทย จำกัด มหาชน เมื่อเข้าสู่กระบวนการปรับโครงสร้างใหม่และเพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงและส่งเสริมความเชื่อมั่นของพนักงานต่อองค์กรของบริษัท การบินไทย จำกัด มหาชน เพื่อนำผลได้มามาใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างความเชื่อของพนักงานต่อบริษัท และเพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคลต่อไป กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือพนักงานบริษัท การบินไทย จำกัด มหาชน รวมทั้งสิ้นจำนวน 400 คน การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล การวิจัย เชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน Independent Samples t-test, One-Way ANOVA และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน จากการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยด้านความผูกพัน มีความสัมพันธ์กับความเชื่อมั่นของพนักงาน โดยพนักงานปรารถนาที่จะเห็นบริษัทเปลี่ยนแปลงไปทางที่ดีขึ้นมากที่สุด 2) ปัจจัยด้านภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์กับความเชื่อมั่นของพนักงานในระดับมาก โดยพนักงานเห็นว่าเป็นองค์กรที่ได้รับรางวัลและการรับรองตามมาตรฐานการบินมากมาย 3) ปัจจัยด้านการปรับโครงสร้างองค์กรมีความสัมพันธ์กับความเชื่อมั่นของพนักงานในระดับมาก โดยพนักงานเห็นด้วยกับการปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ในครั้งนี้ 4) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อมั่นของพนักงาน บริษัท การบินไทย จำกัด พบว่า ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ ด้านความผูกพัน ด้านภาพลักษณ์ และด้านการปรับโครงสร้าง มีความสัมพันธ์ความเชื่อมั่นของพนักงาน บริษัทการบินไทย จำกัด มหาชน เมื่อเข้าสู่กระบวนการปรับโครงสร้างใหม่อย่างมีนัยยะสำคัญที่ระดับ 0.01 5) แนวทางในการแก้ไขการส่งเสริมความเชื่อมั่นของพนักงานควรมีให้เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม จัดกิจกรรมเสริมสร้างการรับรู้ต่าง ๆ ร่วมกันมากขึ้น โดยเป็นไปอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ | - |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to analyze the factors related to the reliability of Thai Airways International Public Company Limited employees under the restructuring process and to propose the guidelines to improve and promote organizational reliability among Thai Airways International Public Company Limited employees. The findings would be applied as the guidelines to strengthen the organizational reliability among employees and the supplementary information for further human resource development. The sample consisted of 400 employees of Thai Airways International Public Company Limited. This research used a quantitative methodology. A questionnaire was used as a research instrument for data collection. Data collected were analyzed using statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, Independent Samples t-test, One-Way ANOVA and Pearson's correlation coefficient. The major findings indicated that 1) organizational commitment was related to employee reliability. Employees’ desire to realize better organizational change was at the highest level. 2) Image factor was highly related to employee reliability. Employees have considered that Thai Airways International Public Company Limited is an organization that has earned worldwide awards and certifications in accordance with aviation standards. 3) Restructuring factor was highly related to employee reliability. Employees agreed with the new organizational restructuring process. 4) The results of analyzing factors related to the employee reliability revealed that leadership, organizational commitment, image, and the restructuring were related to employee reliability of Thai Airways International Public Company Limited under the new restructuring process with a statistical significance level of 0.01. 5) Solutions to improve employee confidence should be increased than before and should Organize activities to enhance awareness about confidence which is transparency and verifiable. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.443 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความเชื่อมั่นของพนักงาน บริษัท การบินไทยจำกัด มหาชน เมื่อเข้าสู่กระบวนการปรับโครงสร้างใหม่ | - |
dc.title.alternative | Factors related to employee confidence of Thai Airways International Public Company limited when entering the restructuring process | - |
dc.type | Independent Study | - |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | รัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2021.443 | - |
Appears in Collections: | Pol - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6282054624.pdf | 1.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.