Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80400
Title: | ชุดตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น โดยการตรวจไมโครอัลบูมินในปัสสาวะ |
Other Titles: | Screening chronic kidney disease in microalbuminuria using competitive strip test |
Authors: | เกริกพงศ์ ใบเนียม วรัชยา วงศ์สุริยกันต์ เศรษฐา ลี |
Advisors: | พรอนงค์ อร่ามวิทย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ |
Advisor's Email: | aramwit@gmail.com |
Subjects: | ไต -- โรค Kidneys -- Diseases |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | โรคไตเรื้อรังเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ หากเกิดการคัดกรองได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้นของโรคจะช่วย ป้องกันและซะลอการดำเนินไปของภาวะไตให้ช้าที่สุดได้ ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคไตเรื้อรังนั้นมีหลายปัจจัยโดยปัจจัยที่ ส่งผลมากที่สุดสองอันดับแรกคือ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ไมโครอัลบูมินเป็นตัวบ่งชี้ที่ดีในการใช้คัด กรองและสามารถบ่งบอกว่าเกิดความผิดปกติของไตตั้งแต่ระยะแรก สำหรับการตรวจไมโครอัลบูมินในปัสสาวะนั้นมี หลายวีธียกตัวอย่างเช่น กรตรวจทงห้องปฏิบัติการที่เป็นวิธีกรวัดเชิงปริมาณแต่ธีดังกล่าวมีข้อจำกัดของการเข้าถึง การตรวจในโรงพยาบาลชุมชนบางแห่งและมีราคาสูงจึงเป็นเหตุให้มีการพัฒนาชุดตรวจไมโครอัลบูมินในปัสสาวะเพื่อ คัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นโดยการใช้หลักการ Competitive lateral flow immunochromatography การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบค่ความไว (Sensitivity) และความจำเพาะ (Specificity) ของชุดตรวจ ดังกล่าวสำหรับการนำชุดตรวจไปใช้ในกลุ่มอาสาสมัครได้จริง โดยทำการเก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างผู้ที่มีความเสี่ยงสูง จำนวน 50 คนจากโรงพยาบาลบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสงครามซึ่งทำการเก็บตัวอย่างปัสสาวะตอนเช้าครั้งแรก จากนั้น นำผลลัพธ์ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับผลลัพธ์ที่ใช้วิธีมาตรฐานคือวิธี Immunoturbicimetric assay พบว่าชุดตรวจไม โครอัลบูมินในปัสสาวะนั้นมีคำความถูกต้องแม่นยำเฉลี่ย (Accuracy) ร้อยละ 98.67, 9596CI (90.4696-99.9996) ค่า ความไวเฉลี่ย (Sensitivity) และค่าความจำเพาะเฉลี่ย (Specificity) ร้อยละ 83.33, 95%CI (35.88%-99.58%) และ 100,95% CI (91.96%-100%) ตามลำดับ และมีค่ า Positive predictive value และค่ Negative predictive value ร้อยละ 100 และ 97.57 ตามลำดับ ดังนั้นชุดตรวจไมโครอัลบูมินในปีสสาวะเพื่อคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นโดยการใช้หลักการ Competitive lateral flow immunochromatography assay สามารถใช้ในการคัดกรองภาวะไมโครอัลบูมินในเบื้องต้นได้ ถ้หาก ได้ผลบวกควรไปตรวจเพื่อยืนยันโดยวิธีมาตรฐาน อย่างไรก็ตามการวิจัยนี้มีกลุ่มตัวอย่างที่น้อยควรมีการศึกษาต่อไป |
Other Abstract: | Chronic kidney disease (CKD) is a significant public health issue. Early detection of kidney disease can help to prevent and delay the progression of the disease. Chronic kidney disease is influenced by several factors. Diabetes mellitus and hypertension have been the two most influential factors. Microalbumin serves as an effective screening biomarker that can indicate the presence of a kidney problem in its early stages. There are several methods to detect microalbumin in the urine. For example, laboratory testing is a quantitative procedure, but it is expensive and has limited availability in some community hospitals. As a result, a competitive lateral flow immunochromatography test kit was used to detect microalbumin for early screening of chronic kidney disease. This study aims to assess the sensitivity and specificity of strip tests for the actual use of screening chronic kidney disease.The data were collected in a morning urine sample of 50 high-risk adults from Banphaeo General Hospital in Samut Songkhram Province. The strip test results were compared to the standard method, and the data were calculated in MedCalc software version 20.027. Test kits based on the competitive lateral flow immunochromatography assay were found to have an accuracy of 98.67%, 95%CI (90.46%-99.99%), sensitivity and specificity of 83.33%, 95%CI (35.88%-99.58%) and 100, 95% CI (91.96%-100%), respectively, with a positive predictive value and a negative predictive value of 100% and 97.57, respectively. Therefore, this test kit can be used to screen for chronic kidney disease in its early stages. If the result is positive, it should be confirmed by using standard methods. However, this research had only a small sample size and should be studied further to confirm these results. |
Description: | โครงการปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรเภสัชศาสตร์ บัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2564 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80400 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Pharm - Senior projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pharm_SeniorProject_1.11_2564.pdf | ไฟล์โครงงานทางวิชาการฉบับเต็ม | 8.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.