Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสารภี แกสตัน-
dc.contributor.authorประจิตพร ยุตยาจาร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-10-06T06:32:46Z-
dc.date.available2022-10-06T06:32:46Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80591-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษากลวิธีการแปลแบบทำให้กลมกลืน (Domestication) และกลวิธีการแปลแบบรักษาความแปลกต่าง (Foreignization) ที่นำเสนอโดยลอว์เรนซ์ เวนุติ (Lawrence Venuti) เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และอธิบายการแปลนวนิยายระหว่างวัฒนธรรมเรื่อง อีสต์ วินด์ : เวสต์ วินด์ (East Winds : West Wind) ของ เพิร์ล เอส. บัก (Pearl S. Buck) ในการนี้ ผู้วิจัยจำเป็นต้องศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมทฤษฎีการแปล อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานในการวิเคราะห์กลวิธีการแก้ไขปัญหาการแปลนวนิยายที่มีประเด็นและองค์ประกอบด้านวัฒนธรรม สมมติฐานการวิจัยที่ได้ตั้งไว้คือ นอกจากทฤษฎีการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมและทฤษฎีการแปลต่าง ๆ แล้ว กลวิธีการแปลแบบทำให้กลมกลืน (Domestication) และกลวิธีการแปลแบบรักษาความแปลกต่าง (Foreignization)ที่นำเสนอโดยลอว์เรนซ์ เวนุติ (Lawrence Venuti) น่าจะช่วยในการวิเคราะห์และอธิบายกลวิธีการแก้ไขปัญหาการแปลนวนิยายที่มีประเด็นและองค์ประกอบด้านวัฒนธรรมในเรื่อง อีสต์ วินด์ : เวสต์ วินด์ (East Wind : West Wind) ของเพิร์ล เอส. บัก (Pearl S. Buck) ได้ จากการศึกษาพบว่า กลวิธีการแปลแบบทำให้กลมกลืนและรักษาความแปลกต่างสามารถนำมาวิเคราะห์และอธิบายการแก้ไขปัญหาการแปลนวนิยายเรื่อง อีสต์ วินด์ : เวสต์ วินด์ ได้เฉพาะในส่วนของวัฒนธรรมสาขามนุษย์ศาสตร์และสาขากีฬาและนันทนาการ ซึ่งผู้วิจัยพบว่าผู้แปลได้ใช้กลวิธีการแปลแบบรักษาความแปลกต่างในแก้ไขปัญหาการแปลตัวบทที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมแตกต่างจากวัฒนธรรมปลายทาง ขณะเดียวกันผู้แปลได้เลือกใช้กลวิธีการแปลทั้งสองแบบในการแก้ไขปัญหาการแปลในวัฒนธรรมสาขาอื่น ๆ ที่ตัวบทมีลักษณะความเป็นสากลได้แก่ สาขาศิลปะ สาขาคหกรรมศิลป์ และสาขาภาษาen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to explore domesticating and foreignzing strategies as proposed by Lawrence Venuti, and to apply them to the analysis of the two Thai translations of Pearl S. Buck’s East Wind: West Wind, a novel involving the clash of cultures – East and West. In this study, intercultural communication and translation theories were reviewed to give an overview and pave way for the analysis of the translation with problems related to cultural elements. The hypothesis is that in addition to intercultural communications theories and translation theories, domestication and foreignization can also be used to analyze and explain translation strategies selected when it came to dealing with the cultural elements and cultural issues found in the novel. The findings revealed that domestication and foreignzation can be used to analyze and explain the translators’ choices in translating cultural elements related to humanities, sports and recreation. It was found that the translators applied foreignizing strategy when dealing with cultural elements different from that of the target culture. Both strategies were found to be used in transferring more universal elements, e.g. those related to art, domestic arts, and language.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวรรณกรรมอังกฤษ -- การแปลเป็นภาษาไทยen_US
dc.titleกลวิธีการแก้ปัญหาการแปลนวนิยายระหว่างวัฒนธรรมเรื่อง East Wind : West Wind (อีสต์วินด์ : เวสต์วินด์) ของ Pearl S. Buck (เพิร์ล เอส. บัก)en_US
dc.title.alternativeTranslation strategies in translating cultural elements : case study in "East wind : West wind" written by Pearl S. Bucken_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการแปลและการล่ามen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prajitporn Y_tran_2008.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.