Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81019
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPadet Tummaruk-
dc.contributor.authorPreechaphon Taechamaeteekul-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science-
dc.date.accessioned2022-11-03T02:40:14Z-
dc.date.available2022-11-03T02:40:14Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81019-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2021-
dc.description.abstractThe aims of the present study were to investigate the effect of altrenogest treatment from 109 to 112 days of gestation in combination with double intramuscularly of PGF2alpha administrations at 113 days of gestation on the variation of farrowing in sows and its side effects on the sow colostrum yield, colostrum IgG, newborn piglet characteristics and piglet survival rate until seven days of postnatal life. In total, 193 sows were randomly allocated according to parity number into two groups, i.e. control (n = 95) and treatment (n = 98). The control sows were allowed to farrow naturally. The treatment sows were orally administered 20 mg per day of altrenogest for 4 days from 109 to 112 days of gestation and were administered PGF2alpha twice on day 113 of gestation. Individual body weight at birth and at 24 h after birth of piglets in all the litters were determined in both control (n = 1,609) and treatment (n = 1,707) groups. Colostrum consumption of all the piglets and colostrum yield of sows were estimated. Colostrum IgG at 0, 6 and 24 h postpartum and serum progesterone before and after farrowing were determined. Piglet survival rate until 3 days and 7 days of postnatal life were evaluated. On average, total number of piglets born and number of piglets born alive per litter were 17.0 ± 3.1 and 15.4 ± 3.0, respectively. The proportion of sows farrowed before 114 days of gestation in control was higher than treatment groups (8.4% and 2.0%, respectively, P = 0.05) and 92.8% of sows in the treatment group farrow on day 114 of gestation. The proportion of sows farrowed during working hours in control was lower than treatment groups (50.5% and 65.3%, respectively, P = 0.038). The percentage of stillborn piglets per litter did not differ significantly between in control and treatment groups (4.5% and 4.6%, respectively). Colostrum yield of sows did not differ between treatment and control group (5.28 ± 0.12 kg and 5.52 ± 0.13 kg, respectively, P = 0.174). However, colostrum intake of piglets in the treatment was lower than control groups (357.0 ± 6.6 g and 381.2 ± 7.0 g, respectively, P = 0.012). Colostrum IgG in the control was higher than treatment groups (41.2 ± 1.1 and 37.3 ± 1.0 mg per ml, respectively, P = 0.013). In conclusion, altrenogest treatment from 109 to 112 days and double PGF2alpha administrations on day 113 of gestation can reduce early parturition and can control gestation length in sows. No deleterious effect of this protocol on either the incidence of stillbirths or sow colostrum yield were detected. However, the piglet colostrum intake and colostrum IgG in the treatment groups were lower than control. Thus, intensive care of newborn piglets in the treatment group should be considered.-
dc.description.abstractalternativeวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อตรวจสอบผลของการใช้ฮอร์โมนอัลทรีโนเจสตั้งแต่วันที่ 109 ถึงวันที่ 112 ของการตั้งท้องร่วมกับการฉีดสารโพสตาแกลนดินเอฟทูแอลฟาที่บริเวณกล้ามเนื้อคอจำนวนสองครั้ง ณ วันที่ 113 ของการตั้งท้องต่อความแปรปรวนของวันในการคลอดของแม่สุกร รวมถึงศึกษาผลข้างเคียงของการทดลอง อาทิ น้ำนมเหลืองของแม่สุกร ปริมาณสารอิมมูโนโกลบูลินจีในน้ำนมเหลือง ลักษณะต่างๆของลูกสุกรแรกเกิด เป็นต้น การทดลองในครั้งนี้ใช้แม่สุกรจำนวน 193 ตัว โดยแม่สุกรทั้งหมดได้รับการจัดกลุ่มของแม่สุกรโดยแบ่งตามลำดับท้อง ได้แก่ กลุ่มควบคุมจำนวน 95 ตัว และกลุ่มทดลองจำนวน 98 ตัว แม่สุกรกลุ่มควบคุมจะปล่อยให้คลอดตามธรรมชาติ ส่วนแม่สุกรกลุ่มทดลองจะได้รับฮอร์โมนอัลทรีโนเจสปริมาณ 20 มิลลิกรัมต่อวันเป็นเวลา 4 วัน นับตั้งแต่วันที่ 109 ถึงวันที่ 112 ของการตั้งท้องและฉีดสารโพสตาแกลนดินเอฟทูแอลฟาที่กล้ามเนื้อบริเวณสันคอจำนวนสองเข็ม ณ วันที่ 113 ของการตั้งท้อง ข้อมูลต่างๆจะถูกบันทึก ได้แก่ น้ำหนักตัวของลูกสุกรแรกเกิดและเมื่อเวลาผ่านไป 24 ชั่วโมงหลังคลอดลูกสุกร จำนวนลูกสุกรทั้งหมดในกลุ่มควบคุมมีจำนวน 1,609 ตัว และกลุ่มทดลองจำนวน 1,707 ตัว ปริมาณการบริโภคน้ำนมเหลืองของลูกสุกร ปริมาณน้ำนมเหลืองที่ผลิตได้ของแม่สุกร ปริมาณสารอิมมูโนโกลบูลินจีในน้ำนมเหลือง ณ เวลา 0, 6 และ 24 ชั่วโมงหลังคลอด ปริมาณฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในซีรัมของแม่สุกรก่อนและหลังคลอด อัตราการรอดชีวิตของลูกสุกร ณ วันที่ 3 และ 7 หลังคลอด ผลของการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยจำนวนลูกสุกรที่เกิดและจำนวนลูกสุกรที่มีชีวิตแรกคลอดเท่ากับ 17.0 ± 3.1 ตัว และ 15.4 ± 3.0 ตัว ตามลำดับ สัดส่วนของแม่สุกรที่คลอดก่อนกำหนด(ก่อนวันที่ 114 ของการตั้งท้อง)ในกลุ่มควบคุมสูงกว่ากลุ่มทดลอง (8.4% และ 2.0% ตามลำดับ, P = 0.05) และ สัดส่วนของแม่สุกรในกลุ่มทดลองคลอดในวันที่ 114 ของการตั้งท้องถึง 92.8% โดยสัดส่วนของแม่สุกรคลอดระหว่างเวลาทำงานในกลุ่มควบคุมต่ำกว่ากลุ่มทดลอง (50.5% และ 65.3% ตามลำดับ, P = 0.038) เปอร์เซ็นต์ของลูกสุกรตายแรกคลอดระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (4.5% และ 4.6% ตามลำดับ, P = 0.93) ผลผลิตน้ำนมเหลืองของแม่สุกรระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกัน (5.28 ± 0.12 กิโลกรัม และ 5.52 ± 0.13 กิโลกรัม ตามลำดับ, P = 0.174) อย่างไรก็ตาม ปริมาณน้ำนมเหลืองที่ลูกสุกรกินได้ในกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (357.0 ± 6.6 กรัม และ 381.2 ± 7.0 กรัม ตามลำดับ, P = 0.012) ปริมาณสารอิมมูโนโกลบูลินจีในน้ำนมเหลืองในกลุ่มควบคุมสูงกว่ากลุ่มทดลอง (41.2 ± 1.1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และ 37.3 ± 1.0  มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ, P = 0.013) จากการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า การใช้ฮอร์โมนอัลทรีโนเจสตั้งแต่วันที่ 109 ถึงวันที่ 112 ของการตั้งท้องร่วมกับการฉีดสารโพสตาแกลนดินเอฟทูแอลฟาที่กล้ามเนื้อบริเวณสันคอจำนวนสองเข็ม ณ วันที่ 113 ของการตั้งท้องสามารถลดอุบัติการณ์การคลอดก่อนกำหนดและสามารถลดความแปรปรวนของวันในการคลอดของแม่สุกรได้ โดยวิธีการดังกล่าวไม่ส่งผลต่อการเพิ่มอุบัติการณ์การตายแรกคลอดของลูกสุกร แต่อย่างไรก็ตาม ปริมาณการกินน้ำนมเหลืองของลูกสุกรและปริมาณสารอิมมูโนโกลบูลินจีในน้ำนมเหลืองของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุม ดังนั้นการพิจารณาการใช้ฮอร์โมนอัลทรีโนเจสตั้งแต่วันที่ 109 ถึงวันที่ 112 ของการตั้งท้องร่วมกับการฉีดสารโพสตาแกลนดินเอฟทูแอลฟาจำนวนสองเข็ม ณ วันที่ 113 ของการตั้งท้อง ควรพิจารณาถึงผลเสียที่อาจเกิดขึ้นกับผลผลิตโดยเฉพาะผลกระทบต่อคุณภาพและปริมาณของน้ำนมเหลือง รวมไปถึงการประยุกต์ใช้และเพิ่มการจัดการที่เหมาะสมเพื่อช่วยเหลือลูกสุกรอย่างใกล้ชิดเพื่อเลี่ยงผลเสียที่อาจเกิดขึ้นกับแม่และลูกสุกร-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.389-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.titleEffect of a combination of altrenogest and double PGF2alpha administrations on farrowing variation, piglet’s performances and colostrum igG-
dc.title.alternativeผลของการใช้ฮอร์โมนอัลทรีโนเจสร่วมกับการฉีดโพสตาแกลนดินเอฟทูแอลฟาสองครั้งต่อความแปรปรวนของการคลอด สมรรถภาพของลูกสุกรและอิมมูโนกลอบูลินจีในน้ำนมเหลือง-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineTheriogenology-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.389-
Appears in Collections:Vet - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6370005831.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.