Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81772
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorBoosana Kaboosaya-
dc.contributor.authorPhu Hnin Thet-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Dentistry-
dc.date.accessioned2023-02-03T04:56:59Z-
dc.date.available2023-02-03T04:56:59Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81772-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2021-
dc.description.abstractObjectives: This study compared the skeletal stability and pharyngeal airway changes after mandibular setback procedure using the titanium and resorbable plate and screws fixation. Materials and Methods: 28 patients with mandibular prognathism being treated with bilateral sagittal split ramus osteotomy (BSSRO) were randomly selected from titanium and resorbable fixations. Analyses of lateral cephalometric x-rays were performed according to preoperative (T0), 1st week post-surgery (T1), 3-6 months post-surgery (T2) and 1-year post-surgery (T3). The horizontal measurement (BX), vertical measurement (BY), and angle measurement (SNB and Mandibular Plane Angle; MPA) were studied for skeletal stability. The pharyngeal airway changes were observed by nasopharynx (NOP), uvula (UOP), tongue (TOP) and epiglottis (EOP). Results: There were no significant difference of mandibular setback in titanium (6.61±3.97 mm.) and resorbable groups (5.08±3.21 mm.). Significant MPA changes were found in both titanium and resorbable groups in 3-6 months post-surgery, but MPA still expressed significant changes in the resorbable group in 1-year post-surgery (2.29±0.59; p-value=0.006). The resorbable group was found significant EOP changes (-1.21±0.3 mm; p-value=0.02) in 3-6 months post-surgery, then gradually returned to no significant changes in 1-year post-surgery. Conclusion: This study could be demonstrated that osteofixation with resorbable plates and screws was comparable to titanium in long-term pharyngeal airway dimension, but a tendency to relapse, particularly mandibular plane angle.-
dc.description.abstractalternativeวัตถุประสงค์: การศึกษานี้เปรียบเทียบความคงตัวของโครงกระดูกและการเปลี่ยนแปลงของทางเดินหายใจบริเวณคอหอยหลังจากการผ่าตัดถอยขากรรไกรล่างที่ยึดกระดูกด้วยไททาเนียมและวัสดุที่สามารถละลายตัวได้ วัสดุและวิธีการ: สุ่มเลือกผู้ป่วย 28 รายที่ได้รับการผ่าตัดถอยขากรรไกรล่างแบบ bilateral sagittal split ramus osteotomy (BSSRO) ที่ยึดกระดูกด้วยไททาเนียมและวัสดุที่สามารถละลายตัวได้ ทำการวิเคราะห์ภาพรังสีกระโหลกศีรษะด้านข้างก่อนการผ่าตัด (T0) สัปดาห์ที่ 1 หลังการผ่าตัด (T1) 3-6 เดือนหลังการผ่าตัด (T2) และ 1 ปีหลังการผ่าตัด (T3) โดยศึกษาความเสถียรของโครงกระดูกโดยการวัดแนวนอน (BX) การวัดแนวตั้ง (BY) และการวัดมุม (SNB และ Mandibular Plane Angle; MPA) และศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางเดินหายใจบริเวณคอหอยโดยการวัดช่องว่างบริเวณจมูก (NOP), ลิ้นไก่ (UOP), ลิ้น (TOP) และฝาปิดกล่องเสียง (EOP) ผลลัพธ์: ไม่มีความแตกต่างกันของระยะการถอยขากรรไกรล่างทั้งในไททาเนียม (6.61±3.96 มม.) และวัสดุยึดกระดูกที่สามารถละลายตัวได้ (5.08±3.21 มม.) พบการเปลี่ยนแปลงมุม MPA ที่มีนัยสำคัญทั้งในไททาเนียมและวัสดุยึดกระดูกที่สามารถละลายตัวได้ในช่วง 3-6 เดือนหลังการผ่าตัด โดยมุม MPA ยังคงแสดงการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญในวัสดุยึดกระดูกที่สามารถละลายตัวได้ ในช่วง 1 ปีหลังการผ่าตัด (2.29±0.59; p-value=0.006) นอกจากนี้พบว่า วัสดุยึดกระดูกที่สามารถละลายตัวได้มีการเปลี่ยนแปลงบริเวณ EOP อย่างมีนัยสำคัญ (-1.21±0.3 มม.; p-value=0.02) ที่ 3-6 เดือนหลังการผ่าตัด จากนั้นจึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญที่ 1 ปีหลังการผ่าตัด สรุป: การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า วัสดุยึดกระดูกที่สามารถละลายตัวได้นั้นมีคุณสมบัติเทียบได้กับไททาเนียมในแง่ความคงตัวของทางเดินหายใจบริเวณคอหอยในระยะยาว แต่มีแนวโน้มที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของกระดูกโดยเฉพาะมุม MP-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.284-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subject.classificationDentistry-
dc.titleA retrospective study in comparison of skeletal stability and pharyngeal airway changes in mandibular prognathism after correction with mandibular setback surgery using two different types of osteofixation materials-
dc.title.alternativeการศึกษาย้อนหลังเปรียบเทียบเสถียรภาพของโครงกระดูกและการเปลี่ยนแปลงของทางเดินหายใจในผู้ป่วยที่มีขากรรไกรล่างยื่น หลังการผ่าตัดถอยขากรรไกรล่างด้วยการใช้วัสดุยึดติดกระดูก   สองประเภท-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Science-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineOral and Maxillofacial Surgery-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.284-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6370031332.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.