Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร กุโลภาส-
dc.contributor.authorณัฐฤทัย สุชาติล้ำพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-04-20T07:14:15Z-
dc.date.available2023-04-20T07:14:15Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82015-
dc.descriptionสารนิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารกิจการนักเรียนโรงเรียนราชวินิต มัธยมตามแนวคิดความเป็นพลเมืองโลก 2) นำเสนอแนวทางพัฒนาการบริหารกิจการนักเรียนโรงเรียนราชวินิต มัธยมตามแนวคิดความเป็นพลเมืองโลก ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย ประชากร คือ โรงเรียนราชวินิต มัธยม ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารและครูโรงเรียนราชวินิต มัธยม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ของร่างแนวทางฯ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีความต้องการจำเป็น ฐานนิยม และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ลำดับดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารกิจการนักเรียนโรงเรียนราชวินิต มัธยมตามแนวคิดความเป็นพลเมืองโลกที่มีลำดับความต้องการจำเป็นสูงสุดคือ การเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนในระดับท้องถิ่นไปถึงทั่วโลก รองลงมาคือ การมุ่งมั่นเพื่อความยุติธรรมทางสังคม และการรับผิดชอบต่อการกระทำของตน ตามลำดับ 2) แนวทางพัฒนาการบริหารกิจการนักเรียนมีทั้งหมด 3แนวทางหลัก ดังนี้ (1) บุกเบิกงานส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนสู่ระดับชุมชนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีจิตสาธารณะ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อพัฒนาสังคม (2) พัฒนางานกิจกรรมชมรมเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลก ด้านการมุ่งมั่นเพื่อความยุติธรรมทางสังคม และ (3) พัฒนาคุณลักษณะคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน เพื่อสร้างเยาวชนที่มีความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนen_US
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed to 1) study the priority need of academic development 2) propose approaches for developing student affairs management of Rajavinit Mathayom School based on the concept of Global Citizenship. The population was Rajavinit Mathayom School. The informants were director and teachers. The research instuments were rating-scaled questionaires and rating-scaled appropriateness and possibility evaluation forms. The data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, PNI[modified], mode and content analysis. The results were as follows: 1) The first priority needs index was the paticipation in the community at a range of levels, from the local to the global; the second priority needs index was the passion of committed to social justice; and the third priority needs index was the taking responsibility for their actions. 2) The 3 main approaches for developing student affairs management of Rajavinit Mathayom School are based on the concept of Global Citizenship were: (1) initiating work in promoting democracy in schools to the community level to promote students to have a public mind and be able to cooperate with others to develop society; (2) developing club activities to promote global citizenship on the commitment for social justice, and (3) developing moral and ethical characters of the students to be responsible for their actions.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.340-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารการศึกษาen_US
dc.subjectกิจการนักศึกษาen_US
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหารen_US
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectStudent affairs servicesen_US
dc.subjectHigh schools -- Administrationen_US
dc.subjectHigh schools -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.titleแนวทางพัฒนาการบริหารกิจการนักเรียนโรงเรียนราชวินิต มัธยม ตามแนวคิดความเป็นพลเมืองโลกen_US
dc.title.alternativeApproaches for developing student affairs management of Rajavinit Mathayom School based on the concept of global citizenshipen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.340-
Appears in Collections:Edu - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
mp_6280047727_Natruithai_Su.pdfสารนิพนธ์ฉบับเต็ม (Fulltext)197.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.