Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82215
Title: | Human health risk assessment of heavy metals in roadside dust near hydropower dams construction areas in Wangduephodrang District of Bhutan |
Other Titles: | การประเมินความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพ จากโลหะหนักในฝุ่นริมถนน ใกล้พื้นที่ก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ เมืองวังดีโพดรัง ประเทศภูฏาน |
Authors: | Kinley Dorjee |
Advisors: | Pokkate Wongsasuluk |
Other author: | Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The concern over the heavy metal laden dust and its impact on human health has gained global importance over the decade. Exposure to roadside dust is associated with various acute and chronic health issues. Bhutan too is battling environmental health issues due to increasing anthropogenic and developmental activities such as hydropower dam construction. This study analyses the heavy metals concentrations in roadside dust near hydropower dam construction areas and assesses the noncancer and cancer risk of exposure to heavy metals laden dust through inhalation. This study was a cross sectional study. The roadside dust samples near hydropower dam construction in Wangduephodrang District were collected and analyzed for As, Pb, Cr, and Hg concentration by using ICP-OES. The socio demographic data and exposure factors were collected through interviews. The mean concentration of the heavy metals in the dust samples were Cd<Hg<As<Pb<Cr at <7.59x10-4±0.00, 4.7x10-4±6.7x10-4, 6.5x10-1±1.16, 5.16±5.90 and 15.71±5.58 mg/kg respectively. All the concentrations of the heavy metals in the dust were lower than the permissible range for safety. The noncancer risk assessment showed that the HQ was 3.66x10-07, 1.21x10-3, 2.67x10-6, 9.27x10-10, and 2.17x10-09 for As, Cr, Cd, Hg and Pb. The HI was 1.22x10-03±3.34x10-04, which indicates an acceptable risk at <1. The mean cancer risk of As, Cr, Cd and Pb was 1.09x10-09±4.50x10-10, 4.59x10-9±1.26x10-9, 6.88x10-10±1.89x10-10 and 4.59x10-12±1.26x10-12 respectively. The mean total cancer risk in the study area due to exposure to As, Cr, Cd and Pb was 6.92x10-9±1.90x10-9, and lower than the acceptable range of 1.0x10-6. There is no potential non-carcinogenic and carcinogenic risk due to exposure to the heavy metals laden dust through inhalation in the hydropower dam construction areas in Bhutan. However, it’s recommended that residents should use face masks for self-protection from roadside dust and prevention of other adverse health effects apart from exposure to heavy metals under the study. Further dust suppression methods need to be strengthened in the area. |
Other Abstract: | ปัญหาฝุ่นปนเปื้อนโลหะหนักและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์นั้น จัดเป็นปัญหาที่ทั่วโลกตระหนักในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การสัมผัสกับฝุ่นละอองริมถนนนั้น สามารถก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งผลกระทบแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ประเทศภูฏานเป็นหนึ่งในประเทศที่กำลังเผชิญกับปัญหาสุขภาพ ที่เป็นผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเช่นกัน เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของกิจกรรมของมนุษย์และการพัฒนาประเทศ เช่น การสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ เป็นต้น การศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความเข้มข้นของโลหะหนักในฝุ่นริมถนน ในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ และเพื่อประเมินความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพที่ไม่ใช่มะเร็งและมะเร็ง จากการหายใจเอาฝุ่นปนเปื้อนโลหะหนักเข้าใป การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง โดยเก็บตัวอย่างฝุ่นริมถนน จากบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ ในเมืองวังดีโพดรัง ประเทศภูฏาน และวิเคราะห์ As, Pb, Cr และ Hg ที่ปนเปื้อนในฝุ่น ด้วย ICP-OES รวมถึงการเก็บข้อมูลประชากรที่อาศัยในพื้นที่ศึกษา ผ่านการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม จากผลการศึกษา พบว่าค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของโลหะหนักในตัวอย่างฝุ่น Cd-4±0.00, 4.7x10-4±6.7x10-4, 6.5x10-1±1.16, 5.16±5.90 และ 15.71±5.58 mg/kg ตามลำดับ โดยโลหะหนักที่พบนั้น มีค่าความเข้มข้นไม่เกินมาตรฐานความปลอดภัย ผลการประเมินความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพที่ไม่ใช่มะเร็ง พบว่า HQ เท่ากับ 3.66x10-7, 1.21x10-3, 2.67x10-6, 9.27x10-10 และ 2.17x10-9 สำหรับ As, Cr, Cd, Hg และ Pb ตามลำดับ HI มีค่าเท่ากับ 1.22x10-3±3.34x10-4 ซึ่งอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ <1 ส่วนผลการประเมินความเสี่ยงต่อมะเร็ง พบว่า ค่าเฉลี่ยของ As, Cr, Cd และ Pb คือ 1.09x10-9±4.50x10-10, 4.59x10-9±1.26x10-9, 6.88x10-10±1.89x10-10 และ 4.59x10-12±1.26x10-12 ตามลำดับ โดยค่าเฉลี่ยผลรวมความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งทั้งหมดทุกโลหะหนักที่ศึกษา คือ 6.92x10-9±1.90x10-9 ซึ่งอยู่ในระดับที่ยอมรับได้เช่นกัน สรุปผลการศึกษา พบว่าไม่มีความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพ จากการจากการหายใจเอาฝุ่นริมถนนที่ปนเปื้อนโลหะหนักเข้าใป ในกลุ่มประชากรท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำในภูฏาน อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้ขอแนะนำให้ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ ควรใช้หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตนเองจากฝุ่นละอองริมถนน และป้องกันผลกระทบต่อด้านสุขภาพอื่นๆ นอกเหนือจากโลหะหนัก รวมถึงการดูแลและป้องกันฝุ่นที่อาจเพิ่มปริมาณมากขึ้น จากการก่อสร้างเขื่อนที่ยังคงดเนินการต่อเนื่องไปอีกนานอีกด้วย |
Description: | Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2022 |
Degree Name: | Master of Public Health |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Public Health |
URI: | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82215 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.318 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2022.318 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Pub Health - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6574002653.pdf | 3.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.