Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82289
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Sukanya Eksakulkla | - |
dc.contributor.author | Sarawut Jansang | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences | - |
dc.date.accessioned | 2023-08-04T05:25:15Z | - |
dc.date.available | 2023-08-04T05:25:15Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82289 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022 | - |
dc.description.abstract | Obesity level 2 has major implications on the respiratory system, particularly the impact of breathing exercises on lung function, which may now be trained employing a variety of breathing exercises and equipment. Therefore, researcher was interested in applying inflatable toys to be applied along with breathing patterns in people with obesity level 2 between the ages of 30 and 65, which affected lung function, respiratory muscle strength and physical activity in way of life. Therefore, the researcher aimed to study the effects of a breathing training program using a toy blower device on breathing performance and respiratory muscle strength. The researchers randomly assigned 87 obese level 2 with a body mass index of 30 or higher and divided them into 3 groups: a control group, a toy blower group, and a triflow group. Training tree times per weeks for a total of 12 weeks after training showed an increase in lung volume and a decrease in respiratory resistance, as well as respiratory effort and respiratory muscle strength more after 12 weeks of training, which will improve long-term breathing efficiency, leading to increased performance in physical activity. Therefore, the use of easy-to-find inflatable toys in everyday life was used to practice the program developed by the researcher. It is cheap and effective equipment, making it clinically useful for other conditions. | - |
dc.description.abstractalternative | ภาวะอ้วนระดับที่ 2 ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจเป็นปัญหาหลักที่สำคัญ โดยเฉพาะ ผลกระทบของการหายใจต่อการทำงานของปอดในปัจจุบันมีผู้ประยุกต์ใช้นำอุปกรณ์ฝึกหายใจที่ หลากหลายนำมาฝึกสมรรถภาพปอดผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาการใช้อุปกรณ์ของเล่นเป่าลมนำมา ประยุกต์ควบคู่กับรูปแบบการหายใจในผู้ที่มีภาวะอ้วนระดับที่ 2 ในช่วงอายุ 30 - 65 ปี ส่งผลต่อ สมรรถภาพปอด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจและระดับการทำกิจกรรมทางกายใน ชีวิตประจำวัน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาผลของโปรแกรมฝึกการหายใจโดยใช้อุปกรณ์ของเล่น เป่าลมต่อสมรรถภาพการหายใจความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ และสมรรถภาพการทำกิจกรรม ในผู้ที่มีภาวะอ้วนระดับ 2 ผู้วิจัยทำการสุ่มผู้ที่มีภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 87 คนที่มีค่าดัชนีมวล กายตั้งแต่ 30 ขึ้นไป โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม กลุ่มเป่าอุปกรณ์ของเล่นเป่าลม และ อุปกรณ์เป่าลูกบอล 3 ลูก ทำการฝึก 3 ครั้งต่อสัปดาห์ รวม 12 สัปดาห์ ภายหลังการฝึกแสดงถึง การเพิ่มขึ้นของปริมาตรปอดและการลดลงของแรงต้านทานในการหายใจรวมถึงแรงที่ใช้ในการ หายใจและกำลังกล้ามเนื้อหายใจดีขึ้นหลังการฝึก12 สัปดาห์ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ หายใจในระยะยาวนั้นจะนำไปสู่ ประสิทธิภาพของการทำกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นการใช้ อุปกรณ์ของเล่นเป่าลมที่หาได้ง่ายในชีวิตประจำวันนำมาฝึกควบคู่กับโปรแกรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มี ราคาถูกและมีประสิทธิภาพเทียบเคียงกับอุปกรณ์การฝึกสมรรถภาพปอดที่มีมาตรฐานได้จึงเป็น ประโยชน์ในทางคลินิกที่สามารถนำไปพัฒนาต่อยอดให้กับกลุ่มผู้ที่มีปัญหาการหายใจในรูปแบบอื่น ต่อไป | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.306 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.title | The effect of breathing training program using a toy blower on lung function, respiratory muscles strength, and functional capacity in people with obesity level 2 | - |
dc.title.alternative | ผลของการฝึกหายใจด้วยโปรแกรมการเป่าอุปกรณ์ของเล่น เป่าลมที่มีต่อสมรรถภาพการหายใจ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ และระดับกิจกรรมทางกายในผู้ที่มี ภาวะอ้วนระดับที่ 2 | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Master of Science | - |
dc.degree.level | Master's Degree | - |
dc.degree.discipline | Physical Therapy | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2022.306 | - |
Appears in Collections: | All - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6370026637.pdf | 4.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.