Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84045
Title: | การเปรียบเทียบสมบัติเชิงกลของซิลิโคนอีลาสโตเมอร์ในงานบูรณะใบหน้าและขากรรไกร ก่อนและหลังได้รับพลังงานไมโครเวฟ |
Other Titles: | Comparison of mechanical properties of maxillofacial silicone elastomer before and after microwave energy exposure |
Authors: | เพ็ญชนก แสนทวีสุข |
Advisors: | ประเวศ เสรีเชษฐพงษ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อศึกษาสมบัติเชิงกลของซิลิโคนอีลาสโตเมอร์ในงานประดิษฐ์ ใบหน้าและขากรรไกรชนิด VST-50 และ M511 ที ่ใส่เม็ดสีและไม่ใส่เม็ดสี ก่อนและหลังได้รับการ แช่ในน้ำที ่ทำให้ร้อนด้วยพลังงานจากเตาไมโครเวฟโดยจำลองการใช้เตาไมโครเวฟ 18 เดือน ชิ ้นงานตัวอย่าง 80 ชิ ้นต่อซิลิโคนแต่ละชนิด ทั ้งหมด 160 ชิ ้น จัดเป็น 2 กลุ ่มตามการเติมเม็ดสีคือ ชิ ้นงานที ่ไม่มีสีและชิ ้นงานมีสี โดยเป็นเม็ดสีชนิดซิลิโคน และแบ่งออกเป็นกลุ ่มควบคุมและกลุ ่มเข้า เตาไมโครเวฟ รูปร่างชิ ้นงานถูกขึ ้นรูปตามมาตรฐาน ASTM D412 และ D624 ทั ้งหมดมี 8 กลุ่ม ย่อย (n=10) ต่อซิลิโคนแต่ละชนิด การนำชิ ้นงานเข้าไมโครเวฟร่วมกับการแช่น้ำ เป็นเวลา 6 นาที ที่ 660 วัตต์ 18 ครั ้ง เป็นการจำลองการใช้งานเดือนละ 1 ครั ้ง อุณหภูมิของน้ำภายหลังการเข้า ไมโครเวฟคือ 60 องศาเซลเซียส จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทาง (a=.5) พบว่า ซิลิโคน VST-50 ชนิดของเม็ดสีมีผลต่อความทนต่อแรงดึงและความแข็งของชิ ้นงานซิลิโคนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<.001) ทั ้งกลุ ่มควบคุมและเข้าเตาไมโครเวฟ ขณะที ่การใช้เตาไมโครเวฟมีผล ต่อความทนต่อการฉีกขาดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<.05) ทั ้งกลุ ่มไม่มีสีและมีสี และทั ้งสอง ปัจจัยไม่มีผลต่อร้อยละการยืดตัว ขณะที ่ซิลิโคน M511 มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างปัจจัยการผสมเม็ด สีและการเข้าไมโครเวฟอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับความแข็ง (P<.05) |
Other Abstract: | The aim of this study was to evaluate mechanical properties of VST-50 and M511 silicone maxillofacial elastomers combined with and without pigment before and after water immersion heated simulated using microwave energy over an 18month period of microwave exposure. A total of 80 specimens for each silicone (total 160) was divided into 2 groups of pigment (no pigment and silicone pigment) and 2 groups of condition (control and microwave). Specimens were fabricated following ASTM D412 and D624 standards. A total of 8 subgroups was prepared (n=10) for each silicone. Half of specimens was exposed to microwave exposure for 6 minutes, 660 watts and 18 times simulated using microwave once a month. Final temperature of water after microwave exposure was 60 degrees celsius. A two-way ANOVA was performed (a=.5). For silicone VST-50, tensile strength and Shore A hardness were affected by pigment (P<.001). Tear strength was increased after microwave exposure (P<.05). Both pigment and microwave exposure had no effect on percent elongation. While silicone M511 found a significant two-way interaction between pigment type and microwave exposure for hardness(P<.05). |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ทันตกรรมประดิษฐ์ |
URI: | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/84045 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6370023332.pdf | 2.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.