Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Veera Lertchirakarn | - |
dc.contributor.author | Prasit Pavasant | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry | - |
dc.date.accessioned | 2009-01-21T03:39:31Z | - |
dc.date.available | 2009-01-21T03:39:31Z | - |
dc.date.issued | 2008 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8706 | - |
dc.description.abstract | The purpose of treatment of pulpal exposure is to preserve vitality, healthy and promote healing of exposed pulp tissue. Fluocinolone acetonide (FA) may have a potential to promote tissue healing. The aim of this study was therefore to investigate the effects of FA on human cultured dental pulp cell in vitro. The MTT assay was performed to examine both cytotoxicity and prolifration of FA at 24, 48 and 72 hours. The results revealed that FA (0.1 to 50 [mu]M) had no cytotoxicity effect. In addition, these doses also stimulated cell proliferation. There was a significant increase of cell proliferation at low concentrations (0.1 and 1 [mu]M) after 48 hours (p<0.05). However, all doses of FA showed statistically significant difference in cell proliferation at 72 hours (p<0.05). The effect of FA on fibronectin synthesis was examined by Western blot analysis from cell extracted for 48 hours. The results showed that FA stimulated the synthesis of fibronectin in reverse dose-dependent manner. The Western blot analysis was performed to examine the effect of FA on type I collagen synthesis at 5 days. The result showed that 1 and 10 [mu]M of FA significantly stimulated the synthesis of collagen for about 2-fold (p<0.05). The result was confirmed by reverse transcription polymerase chain reaction (RT-PCR) which indicated that 1 [mu]M FA could significantly induce the expression of type I collagen mRNAs for about 2.8 times (p<0.05). The activity of alkaline phosphatase was detected at 24 and 72 hours and showed no statistically significant difference in any group at 24 hours (p>0.05). However, after 72 hours all doses of FA decreased alkaline phosphatase activity in a dose-dependent manner. Long term cultures were done to examine the in vitro calcification. After 28 days, the result showed no difference between FA-treated groups and the controls. These results demonstrated that FA enhances the effect on proliferation, fibronectin and type I collagen synthesis but not in calcification process. The results suggested that FA may be the potential substance as a pulp capping material. | en |
dc.description.abstractalternative | การรักษาการเผยผึ่งของเนื้อเยื่อในโพรงฟัน มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะคงสภาพความมีชีวิตและสุขภาพที่ดีของเนื้อเยื่อในโพรงฟันไว้ สารเคมีบางชนิด เช่น สารสเตียรอยด์ อาจสามารถช่วยการกระตุ้นการหายและการสร้างเนื้อเยื่อแข็งจากเนื้อเยื่อในโพรงฟันได้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ต่อเซลล์เพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อในโพรงฟันมนุษย์ ในการศึกษาผลของความเป็นพิษต่อเซลล์และการเพิ่มจำนวนเซลล์เป็นการวัดด้วยสารเอ็มทีที ที่ระยะเวลา 24, 48 และ 72 ชั่วโมงพบว่าที่ระยะเวลา 24 ชั่วโมงทุกกลุ่มความเข้มข้นของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ ผลการศึกษาการเพิ่มจำนวนเซลล์ที่ระยะเวลา 48 ชั่วโมง พบว่าในความเข้มข้น 0.1และ 1 ไมโครโมลของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ มีผลทำให้จำนวนเซลล์เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p< 0.05) และที่ระยะเวลา72 ชั่วโมงทุกกลุ่มความเข้มข้นของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ มีผลทำให้จำนวนเซลล์เพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ในการศึกษาปริมาณการสร้างไฟโบรเนกตินวัดด้วยวิธีเวสเทิร์น (Western blot analysis) ที่ระยะเวลา 48 ชั่วโมง พบว่าปริมาณการสร้างไฟโบรเนกตินที่เพิ่มขึ้นแปรผกผันกับความเข้มข้นของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ ที่เพิ่มขึ้น การศึกษาปริมาณการสร้างคอลลาเจนชนิดที่ 1 วัดด้วยวิธีเวสเทิร์น (Western blot analysis) ที่ระยะเวลา 5 วัน พบว่าฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์สามารถกระตุ้นให้เกิดการสร้างคอลลาเจนชนิดที่ 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ประมาณ 2 เท่าโดยได้ทำการยืนยันผลการทดลองด้วยวิธี รีเวิร์ส ทรานสคริบชัน โพลิเมอเรสเชนรีเอคชัน (Reverse transcription polymerase chain reaction; RT-PCR) โดยศึกษาผลของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ที่ความเข้มข้น 1 ไมโครโมล พบว่าสามารถกระตุ้นให้เกิดการสร้างเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) ของคอลลาเจนชนิดที่ 1 ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ประมาณ 2.8 เท่า ส่วนผลการวัดค่าการทำงานของเอนไซม์ อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสวัดที่ระยะเวลา 24 และ 72 ชั่วโมง พบว่าที่ระยะเวลา 24 ชั่วโมงทุกกลุ่มความเข้มข้นของ ฟลูโอซิโนโลนอะซีโทไนด์ ไม่มีผลต่อค่าการทำงานของเอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตส อย่างไรก็ตามที่ระยะเวลา 72 ชั่วโมง พบว่าค่าการทำงานของเอนไซม์อัลคาไลน์ฟอสฟาเตสลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) โดยแปรผันตรงกับความเข้มข้นของฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ ที่เพิ่มสูงขึ้น ส่วนผลการสร้างตะกอนแคลเซียมนั้น เมื่อทำการเพาะเลี้ยงเซลล์ที่ระยะเวลานาน 28 วัน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมห้องปฎิบัติการ โดยสรุปพบว่า ฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์ สามารถส่งเสริมการเพิ่มจำนวนเซลล์และปริมาณการสร้างไฟโบรเนกตินและสร้างคอลลาเจนชนิดที่ 1 แต่ไม่กระตุ้นให้เกิดการสร้างตะกอนแคลเซียม ผลการการวิจัยนี้ชี้แนะว่าฟลูโอซิโนโลน อะซีโทไนด์อาจจะสามารถนำมาพัฒนาเป็นวัสดุปิดโพรงฟันต่อไปในอนาคตได้ | en |
dc.description.sponsorship | Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund | en |
dc.format.extent | 617881 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Dental pulp | - |
dc.subject | Fluocinolone acetonide | - |
dc.title | The effects of fluocinolone acetonide on human cultured dental pulp cell in vitro | en |
dc.title.alternative | ผลของฟลูโอซิโลนอะซีโทไนด์ต่อเซลล์เพาะเลี้ยงจากเนื้อเยื่อในฟันมนุษย์ | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | veera.L.@chula.ac.th | - |
dc.email.author | Prasit.Pav@Chula.ac.th,prasitpav@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Dent - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Veera_eff.pdf | 603.4 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.