Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8957
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพล วิรุฬห์รักษ์-
dc.contributor.authorสายสวรรค์ ขยันยิ่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2009-06-08T08:52:01Z-
dc.date.available2009-06-08T08:52:01Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741312407-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8957-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาพระประวัติของพระราชชายา เจ้าดารารัศมี ซึ่งมีพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง ปี พ.ศ. 2416-2476 และผลงานทางด้านนาฏยศิลป์ของพระองค์ท่าน โดยศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์ และการนำชุดการแสดงระบำซอ ที่สืบทอดไว้โดยวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่มาศึกษาวิเคราะห์ รวมทั้งผู้วิจัยได้ศึกษาปฏิบัติท่ารำด้วยตัวเอง การวิจัยพบว่าพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ทรงเกี่ยวข้องกับนาฏยศิลป์ดนตรีตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ และเมื่อเข้ามาถวายการรับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างปี พ.ศ. 2429-2457 ก็ทรงได้รับประสบการณ์ทางด้านนาฏยศิลป์ดนตรีในราชสำนัก ทั้งจากการเรียนรู้ด้วยพระองค์เอง และสนับสนุนให้ผู้ใกล้ชิดได้ศึกษาจนเชี่ยวชาญ และเมื่อเสด็จกลับไปประทับที่เชียงใหม่ ในบั้นปลายและพระชนม์ชีพพระองค์ก็ได้ทรงคิดออกแบบ และส่งเสริมให้ครูละครของพระองค์ ประดิษฐ์การแสดงนาฏยศิลป์ทั้งแบบล้านนา และแบบนาฏยศิลป์ราชสำนักขึ้นหลายชุด การศึกษาระบำซอ ทำให้ทราบกลวิธีคิดประดิษฐ์ท่ารำของพระราชชายาฯ ซึ่งผสมผสานการรำแบบราชสำนักกับการฟ้อนล้านนา และการเต้นของชาวเขาเข้าด้วยกันอย่างสวยงาม มีลักษณะการรำตีบทตามคำร้อง ท่ารำที่นำมาจากแม่ท่านาฏยศิลป์ไทย และลักษณะการใช้เท้าคล้ายการเต้นของชาวเขา สรุปว่าพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ทรงเป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่มีคุณูปการ ต่อวงการนาฏยศิลป์ล้านนาเป็นอย่างยิ่ง ผลงานของพระองค์ท่านทุกชุดมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และสมควรมีการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อยกย่องพระอัจฉริยภาพทางด้านนาฏยศิลป์ของพระองค์ท่าน ให้เป็นที่แพร่หลายต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo study the biography of Princess Dararassami who lived between 1873-1933 A.D. along with her dance creation. Studying the documents, interviewing, analyzing the Sor dance costume which has been kept at Chiangmai Dramatic Art College, along with the studying and practicing the dance by the researchers are the methodologies of this research. The research found out that Princess Dararassami were involved dance and music since she was young. And when she came to serve King Chulalongkorn during the period of 1886-1914 A.D. she learned more experiences from the royal dance and music, moreover, she also study by herself and also urged other people to study the dances. When she went bank to Chiangmai in the last period of her life, she had created many set of Lanna and royal dances and also urged her instructors to also create the dances. By studying Sor Dance, the researcher found how she created her move which is the perfect mix of royal dances, Lanna dances, and hillthribe dances. The dances move along with the lyrics, and also created from the principles of thai dances, while fell moved like hillthribe dances. To the summarize. Pricess Dararassami, the northern royal family, who was very important to the Lanna dances. Every set of her dances is very unique and should bring more studies toward it to honor her intelligence in the dance all over the places.en
dc.format.extent4606943 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectดารารัศมี, พระราชชายา เจ้า, 2416-2476en
dc.subjectนาฏศิลป์ -- ไทยen
dc.titleพระราชชายา เจ้าดารารัศมี กับนาฏยศิลป์ล้านนาen
dc.title.alternativePhrarajajaya Jao Dara Russami with Lanna danceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนาฏยศิลป์ไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSurapone.V@chula.ac.th-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saisawan.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.