Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25704
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระชัย ปูรณโชติ | |
dc.contributor.author | ดิลก อุทะนุต | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-23T09:48:09Z | |
dc.date.available | 2012-11-23T09:48:09Z | |
dc.date.issued | 2524 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25704 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มรวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมที่ไม่ได้แสดงออกทางวาจา ในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเปรียบเทียบกิริยาร่วมในห้องเรียนระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยครูที่สอนในระดับมัธยมศึกษาบีที่ 3 ปีการศึกษา 2522 จำนวน 20 คน และนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นดังกล่าว จำนวน 761 คน จากห้องเรียน 20 ห้องเรียน การรวบรวมข้อมูลใช้แบบวิเคราะห์พฤติกรรมที่ปรับปรุงและดัดแปลงมาจาก การวิเคราะห์ข้อมูลกระทำโดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ โดยใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ทดสอบผลสัมฤทธิ์วิชาวิทยาศาสตร์เป็นเกณฑ์ในการแบ่งเปรียบเทียบอัตราส่วนพฤติกรรมต่างๆในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ระหว่างกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำโดยการทดสอบค่า ที่ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบความแตกต่างของอัตราส่วนพฤติกรรมต่างๆระหว่างกลุ่มโดยการทดสอบค่า ปรากฏว่า 1.อัตราส่วนระหว่างพฤติกรรมของนักเรียนและพฤติกรรมของครูระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น .05 2.อัตราส่วนระหว่างการใช้คำถามในแนวกว้างกับการใช้คำถามทั้งหมดของครู ระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 0.5 3.อัตราส่วนระหว่างนักเรียนทำการทดลองกับการบรรยายของครูระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น .05 4.อัตราส่วนระหว่างนักเรียนที่แสดงความคิดริเริ่มกับการให้แนวทางของครูระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น .05 5.อัตราส่วนระหว่างการตอบสนองนักเรียนด้วยการตั้งคำถามใหม่ของครูกับการตอบสนองของนักเรียนด้วยการบรรยายของครูระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น .05 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study and analyze the verbal and nonverbal behaviors in science teaching-learning and,to compare classroom interactions between students with different levels of science learning achievements. The samples of this study consisted of20teachers and 761Mathayom Suksa three students in the1979 acadamic year from 20 classes. The data were collected by means of systematic observation technique adapted from science Laboratory interaction Categories (SLIC). The sample were divided into two groups of high and low science achievements. Then the behavior ratios from science teaching-learning between the high'andlow science achievements groups were tested for significant differences by using F-test at the 0.05 level. The results of this study were as follows. 1. There were. no statistical significant difference, for the ratio of students behavior and teacher behavior between the two groups. 2. There were no statistical significant difference for the ratio of teacher questions using broad questions and the total questions of teachers between the two groups. 3. There were no statistical significant difference for the ratio of student experimenting and teacher lecturing between the two groups. 4. There were no statistical significant difference for the ratio of student initiation and the giving direction by teacher between the two groups. 5. There were no statistical significant difference for the.ratio of teacher responding students by using new questions and teacher responding students by lecturing between the two groups. | |
dc.format.extent | 491451 bytes | |
dc.format.extent | 524140 bytes | |
dc.format.extent | 1771164 bytes | |
dc.format.extent | 484176 bytes | |
dc.format.extent | 537695 bytes | |
dc.format.extent | 543384 bytes | |
dc.format.extent | 1832062 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | เปรียบเทียบปฏิกิริยาร่วมในห้องเรียนระหว่างนักเรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์แตกต่างกัน | en |
dc.title.alternative | A comparison of classroom interaction between students with different levels of science learning achievement | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | มัธยมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dilok_Ud_front.pdf | 479.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dilok_Ud_ch1.pdf | 511.86 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dilok_Ud_ch2.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Dilok_Ud_ch3.pdf | 472.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dilok_Ud_ch4.pdf | 525.09 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dilok_Ud_ch5.pdf | 530.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dilok_Ud_back.pdf | 1.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.