Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.advisorชยากริต ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorบุญฉวี ศรีหมอก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-21T03:51:46Z-
dc.date.available2013-05-21T03:51:46Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746339037-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31161-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการทดลองใช้โพลีเอทีลีนชนิดความหนาแน่นต่ำที่มีดัชนีการไหล 0.05 กรัมต่อนาทีเป็นสารทำให้แข็งตัวสำหรับการผนึกกากกัมมันตรังสีจำลองระดับต่ำประเภท สลัดจ์ เถ้า เรซิน โซเดียมซัลเฟตและกรดบอริก โดยทำการผนึกกากฯ ทุกประเภทที่ปริมาณ 10, 30 และ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก จากนั้นทำการทดสอบ ความทนทานต่อแรงกด ความต้านทางแรงดึง ความทนทานต่อสารเคมีและความทนทานต่อถูกชะล้างของผลิตภัณฑ์กากฯ ผนึกที่ถูกผลิตขึ้น เทียบค่าที่ได้จากการทดสอบกับค่ามาตรฐานกำหนดโดยหน่วยงาน USNRC เพื่อยืนยันว่าสามารถใช้โพลีเอทีลีนในการผนึกกากฯ แม้กระทั่งกากฯ ประเภทเรซินที่ไม่สามารถผนึกได้ดีในวัสดุประเภทอื่น ผลปรากฏว่าผลิตภัณฑ์กากฯ ผนึกประเภท สลัดจ์ เถ้า เรซิน โซเดียมซัลเฟตและกรดบอริก มีค่าความทนทานต่อแรกงกดที่จุดครากสูงสุดมีค่าประเมาณ 1372, 1470, 1074, 1235 และ 1025 psi ตามลำดับ ค่าความต้านทานแรงดึงที่จุดขาดสูงสุดมีค่าประมาณ 1391, 1699, 1338, 1461 และ 1405 psi ตามลำดับ มีค่าดัชนีการถูกชะล้างของซีเซียม- 137 และโคบอลต์-60 สูงสุดแสดงเป็นคู่ลำดับ 8.9, 8.0 7.4,10.8 8.2,8.7 8.0,8.5 และ 7.8,92 ตามลำดับของกากฯผนึกข้างต้น และสามารถทนทานต่อสารเคมีได้ดี นอกจากนี้ยังพบว่าโพลีเอทีลีนชนิดความหนาแน่นต่ำมีความสามารถผนึกกากฯประเภทเรซินได้ในปริมาณสูงกว่าผนึกกากฯเรซินในวัสดุซีเมนต์-
dc.description.abstractalternativeThis study used the low density polyethylene with melt index of 0.50 gram per minute to solidifiy five simulated low level waste; activated sludge, incinerator ash, spent resin, sodium sulphate and boric acid. Each type of the polyethylene waste forms contains 10, 30 and 50 wt% simulated waste. Tests of compressive strength, tensile strength, chemical resistant and leachability of the produced waste forms were performed. The results were also compared to the standard value recommended by United State Nuclear Regulatory Commission (USNRC) to ensure the use of low density polyethylene as solidifying agent even in the of problem waste as spent resin.-
dc.format.extent995042 bytes-
dc.format.extent739055 bytes-
dc.format.extent1628012 bytes-
dc.format.extent1142115 bytes-
dc.format.extent1535000 bytes-
dc.format.extent530963 bytes-
dc.format.extent2902659 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการใช้โพลีเอทีลีนชนิดความหนาแน่นต่ำเป็นสารทำให้แข็งตัว สำหรับการผนึกกากกัมมันตรังสีระดับต่ำen
dc.title.alternativeUse of low density polyethylene as a solidifying agent for low level radioactive waste immobilizationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Boonchawee_sr_front.pdf971.72 kBAdobe PDFView/Open
Boonchawee_sr_ch1.pdf721.73 kBAdobe PDFView/Open
Boonchawee_sr_ch2.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Boonchawee_sr_ch3.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
Boonchawee_sr_ch4.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Boonchawee_sr_ch5.pdf518.52 kBAdobe PDFView/Open
Boonchawee_sr_back.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.