Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์-
dc.contributor.authorศศิธร สกุลกิม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-09T06:13:55Z-
dc.date.available2016-06-09T06:13:55Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745814229-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48469-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพัฒนาการของความสามารถในการประเมินคุณภาพของข่าวสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอและอิทธิพลของผู้พูดที่มีวัยต่างกันที่มีต่อความสามารถในการประเมินคุณภาพของข่าวสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอในเด็กอายุ 5-10 ปี ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กที่มีอายุมากกกว่ามีความสามารถในการประเมินคุณภาพของข่าวสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอได้ถูกต้องมากกว่าเด็กที่มีอายุน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. เด็กในระดับอายุ 6 และ 8 ปี มีความสามารถต่างกันในการประเมินคุณภาพของข่าวสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอเมื่อผู้พูดมีวัยต่างกันโดยที่เด็กในระดับอายุ 6 ปี สามารถประเมินคุณภาพของข่าวสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอได้ถูกต้องอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อผู้พูดเป็นเด็กมากกว่าเมื่อผู้พูดเป็นผู้ใหญ่ เด็กในระดับอายุ 8 ปี สามารถประเมินคุณภาพของข่าวสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอได้ถูกต้องอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อผู้พูดเป็นผู้ใหญ่มากกว่าเมื่อผู้พูดเป็นเด็ก ส่วนเด็กในระดับอายุ 10 ปี สามารถประเมินคุณภาพของข่าวสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอได้ถูกต้องไม่แตกต่างกันเมื่อผู้พูดมีวัยต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis was to study the development of 5-10 year-old children’s ability to evaluate the uninformative message and the effects of uninformative communication by persons of various ages on children’s ability to assess the quality of the messages. The results of the study are as follows: 1.The older children have more ability to assess the quality of the uninformative messages than the younger ones (p < .01). 2. The six and eight-year-old children evaluate differently the uninformative messages when the age of speakers is different (p < .05). The six-year-olds are more accurate in their assessment when the speaker is a child rather than an adult. The eight-year-olds are more accurate in their assessment when the speaker is an adult rather than a child. The ten-year-old children evaluate undifferently the uninformative messages when the age of speakers is different.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของการสื่อสารที่ไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอของบุคคลต่างวัย ที่มีต่อความสามารถในการประเมินคุณภาพของข่าวสาร ของเด็กอายุ 5-10 ปีen_US
dc.title.alternativeThe effects of uninformative communication by persons of various ages on the ability of children five to ten years of ages to assesses the quality of the messagesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPenpilai.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasithorn_sk_front.pdf683.48 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_sk_ch1.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_sk_ch2.pdf727.36 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_sk_ch3.pdf530.79 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_sk_ch4.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_sk_ch5.pdf350.67 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_sk_back.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.