Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15553
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรชาติ เปรมานนท์-
dc.contributor.authorอิทธิพล รวบรวม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-07-28T09:36:53Z-
dc.date.available2011-07-28T09:36:53Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15553-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractบทประพันธ์เพลง ซิมโฟนี หมายเลข 1 (SYMPHONY NO.1) บทนี้ ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเป็นบทประพันธ์เพลงชิ้นใหม่ในแบบดนตรีบริสุทธิ์ ด้วยจินตนาการสร้างสรรค์แนวทำนองหลักขึ้นใหม่ให้แต่ละกระบวนของบทเพลง และเลือกใช้เนื้อหากลุ่มโน้ต บางกลุ่มจากทำนองหลัก โดยการนำมาพัฒนาขยายให้เกิดความหลากหลายด้วยเทคนิคต่างๆ ของการประพันธ์เพลง เช่น การซ้ำ การเลียน การเปลี่ยนเครื่องหมายกำหนดจังหวะ การเปลี่ยนอัตราจังหวะ อีกทั้งการใช้ขั้นคู่และคอร์ดที่หลากหลายผสมผสานเสียงดนตรีหลายแนวเข้าด้วยกัน ภาพโดยรวมของบทประพันธ์เพลงนี้ เป็นบทประพันธ์เพลงสำหรับวงเชมเบอร์ออร์เคสตรา ความยาวประมาณ 14 นาที ประกอบด้วยสังคีตลักษณ์ทางดนตรีทั้งหมด 3 กระบวน ได้แก่ สังคีตลักษณ์โซนาตา สังคีตลักษณ์สามตอนและสังคีตลักษณ์รอนโด โครงสร้างของบทประพันธ์เพลงนี้เป็นแบบแนวดนตรีร่วมสมัย ด้วยการใช้ระบบศูนย์กลางของเสียงมากกว่าการใช้ กุญแจเสียง เพื่อความเป็นอิสระในการสร้างสรรค์ให้เป็นบทประพันธ์เพลงชิ้นใหม่สำหรับงานศิลปะทางดนตรีได้ตามยุคสมัยen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this composition “SYMPHONY NO.1” is to create a new piece of absolute music. The composer uses his imagination to create a new theme for each movement. An important component in this composition is the use of some melodic and rhythmic fragments to develop by using the compositional techniques such as repetition, sequence, meter and tempo changing, and intervals and chords to combine various melodies. This three-movement composition is scored for a chamber orchestra and is 14 minutes in duration. The composition is based on contemporary music style by using tone center system instead of key signatures to create a new compositional work for the present period.en
dc.format.extent3685334 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1029-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectซิมโฟนีen
dc.titleซิมโฟนี หมายเลข 1en
dc.title.alternativeSymphony No.1en
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประพันธ์เพลงes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWeerachat.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1029-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ittipon_ro.pdf3.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.