Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1747
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-08-14T09:49:50Z-
dc.date.available2006-08-14T09:49:50Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741332017-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1747-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติเกี่ยวกับการสร้างภาพยนตร์ไทย และทัศนคติเกี่ยวกับคุณค่าภาพยนตร์ไทยของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครยุคหลังเศรษฐกิจวิกฤตระหว่างปี 2545-46 มีจำนวนภาพยนตร์ไทยที่ฉาย จำนวน 67 เรื่อง โดยสุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจากผู้ชมที่อยู่ในย่านต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร 18 ย่านจำนวนโรงภาพยนตร์ชั้นหนึ่งทั้งหมด 220 โรงภาพยนตร์ รวม 8 เครือฯ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 487 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูล แจกแจงร้อยละ ค่าเฉลี่ย T-test, One-way ANOVA, Pearson’s Correlation Coefficient ประมวลผลโดยใช้โปรแกรม SPSS/PC ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มผู้ชมภาพยนตร์ไทยส่วนใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นนักเรียน นิสิต นักศึกษา อยู่ในระดับปริญญาตรี ภาพยนตร์แนวชีวิต ได้รับความนิยมมากที่สุด ทัศนคติเกี่ยวกับการสร้างภาพยนตร์คือ ขั้นเตรียมการถ่ายทำ ขั้นถ่ายทำ และขั้นหลังการถ่ายทำภาพยนตร์ ผู้ชมมีทัศนคติชอบในระดับปานกลางถึงดี ยกเว้นการเขียนภาพยนตร์ ผู้ชมมีทัศนคติชอบในระดับต่ำ ส่วนทัศนคติเกี่ยวกับคุณค่าต่อชีวิต คุณค่าต่อสังคม คุณค่าทางศิลปะและคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ของภาพยนตร์ไทยโดยทั่วไป ผู้ชมมีทัศนคติชอบในระดับปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่า ภาพยนตร์ไทยนั้นยังเป็นรองภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดอยู่มาก แต่อย่างไรก็ตามผู้ชมภาพยนตร์ส่วนใหญ่ ก็ยินดีที่จะชมภาพยนตร์ไทยต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study Bangkok moviegoers attitudes towards Thai film production and Thai film values during post-economic crisis era, during 2002-03. Sixty-seven Thai movies were screened. Questionnaires were used to collect raw data from 487 samples, 222 first class movie theaters in 8 groups of 18 main areas in Bangkok. Tabulation of the results, were achieved with the use of percentage, Mean, T-test, One-way ANOVA and Pearson’s Correlation Coefficient for data analysis and SPSS/PC program was used for data processing. The results showed that the majority of Bangkok moviegoers as the largest sampling group was undergraduate college students and, Drama related films were the most popular film. The Bangkok moviegoers attitude in general toward Thai film pre-production, production and post-production were between fair and good, the only exception to this was screening which scored quite low due to shallowness of the story line. In general, their attitude toward live, social, art and science value of domestic movie was at a level that would best be described as fair. Ultimately, the results showed that Thai films had not progressed to the quality of the Hollywood films. But on the whole the results showed that Thai film were still welcomed by domestic audiences.en
dc.description.sponsorshipทุนเพื่อการวิจัย คณะนิเทศศาสตร์en
dc.format.extent877441 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1282-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมภาพยนตร์--ไทยen
dc.subjectภาพยนตร์ไทยen
dc.subjectภาพยนตร์--การผลิตและการกำกับรายการen
dc.titleทัศนคติเกี่ยวกับการสร้างภาพยนตร์ไทยของผู้ชมภาพยนตร์ในเขตกรุงเทพมหานคร : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeBangkok moviegoes attitude toward domestic film productionen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorRuksarn.V@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1282-
Appears in Collections:Comm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Raksarn.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.